อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

68
อนุสาร อนุสารการจัดการความรูการจัดการความรูคณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ปีท่ 1 ฉบับที่ 1/2554 การจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ การจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ การจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ การจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ สูสูสูสู... ... ... ...การวิจัยในชั้นเรียน การวิจัยในชั้นเรียน การวิจัยในชั้นเรียน การวิจัยในชั้นเรียน

Upload: nutthakorn-war

Post on 31-Mar-2016

223 views

Category:

Documents


0 download

DESCRIPTION

คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

TRANSCRIPT

Page 1: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารอนุสารการจัดการความรู้การจัดการความรู้คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังปีที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

การจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ การจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ การจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ การจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ

สู่สู่สู่สู.่...........การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน

Page 2: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554
Page 3: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

สารจากคณบดี

สืบเน่ืองจากคณะเทคโนโลยีการเกษตรไดเห็นถึงความสําคัญของการจัดการองค

ความรูในองคกร เน่ืองจากการจัดการองคความรู เปนตัวช้ีวัดหน่ึงของคํารับรอง

การปฏิบัติราชการของสํานักงานพัฒนาระบบราชการ (กพร.) และการประกันคุณภาพ

การศึกษา นอกจากน้ีการจัดการองคความรูยังมีความสําคัญตอพัฒนาการบริหารจัดการ

คณะเพื่อใหพรอมรับการเปลี่ยนแปลงและพรอมสําหรับการแขงขันที่จะเกิดข้ึนในอนาคต

อีกดวย ผมมีความยินดีที่การดําเนินงานดานการจัดการองคความรูของคณะไดประสบ

ผลสําเร็จเปนอยางดี เปนที่ยอมรับทั้งในระดับในสถาบัน และหนวยงานภายนอก การ

จัดพิมพอนุสารเปนการแสดงใหเห็นถึงพัฒนาการอีกรูปแบบหน่ึงของการดําเนินการดาน

การจัดการองคความรูของคณะเรา ผมหวังวาอนุสารน้ีจะเปนประโยชนตอการทํางานของ

บุคลากร เพื่อพัฒนาคณะของเราใหมีความกาวหนาตอไป

รศ.ศักด์ิชัย ชูโชติ

คณบดี

Page 4: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

2

จากใจบรรณาธิการ

ตลอดเวลานับต้ังแตผมไดรับมอบหมายจากทานคณบดีใหรับผิดชอบในการ

ดําเนินการดานการจัดการองคความรูของคณะเมื่อ 4 ปที่แลว ผมไดรับความรวมมืออยางดี

ย่ิงจากกรรมการในคณะกรรมการจัดการองคความรูของคณะทุกทานที่ไดชวยกันทํางาน

อยางเสียสละ และผลักดันจนทําใหเรื่องการจัดการองคความรูของคณะเราเริ่มเห็นเปน

รูปธรรม เมื่อเทียบกับในระยะเริ่มตนที่เรื่องดังกลาวยังใหมสําหรับพวกเราหลายๆคน ใน

ปจจุบันน้ีเรื่องการจัดการความรูเปนที่ยอมรับกันวาเปนเครื่องมือที่สําคัญตอปจจัยใน

ความสําเร็จในการพัฒนาคน พัฒนางานและพัฒนาองคกร อนุสารน้ีเปนอีกความพยายาม

หน่ึงของคณะกรรมการฯ ที่จะใชเปนสื่อกลางทําใหเรื่องของการจัดการองคความรูเขาไปถึง

บุคลากรทุกคนของเรา หากผูอานมีความคิดเห็น ขอเสนอแนะประการใด ขอความกรุณา

ทานชวยแจงมายังผมหรือกรรมการทุกทานครับ

ผศ.ดร.มณฑล แกนมณี

กองบรรณาธิการ

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร

ที่ปรึกษา

รศ.ศักด์ิชัย ชูโชติ

รศ.ศรีสกุล วรจันทรา

นางสําเนา ภัทรรัตนนันท

ผศ.ดร.มณฑล แกนมณี

ผศ.ดร.ปญญา หมั่นเก็บ

ผศ.ดร.ณัฐกร สงคราม

ดร.ลําแพน ขวัญพูล

ดร.นิตยา ผกามาศ

นางสาวมณฑา สุวรรณรัตน

นายจรงคศักด์ิ พุมนวน

นายอําพล กลอมปญญา

Page 5: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

3

4 ………………… แนะนําสมาชิกทีมงาน KM

6 ……………….. กิจกรรม KM ในรอบป 2553 – 2554

8 ……………….. บันทึกที่นาสนใจจาก Weblog

บทความวิชาการ

74 …….. การจัดการเรียนการสอนโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ

30 ……………….. การวิจัยในช้ันเรียนทําอยางไร

41 …………….. แลกเปลี่ยนเรียนรู

61 …………….. ความรูคูงาน

63 …………….. เรื่องราวนารู รอบรั้วบุนนาค

Content

Page 6: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

4

แนะนําสมาชิก

ทีมงาน KM

สวัสดีทานผูอานที่เคารพรักทุกทาน

สําหรับทีมงานการจัดการองคความรูของ

คณะเทคโนโลยีการเกษตร เราไดดําเนินงาน

มาแลวหลายป มีการปรับเปลี่ยนคณะทํางาน

มาแลวหลายครั้งแตก็ยังมีการทํางานกันอยาง

ตอเน่ือง จากจุดเล็กๆ ที่ เรียกวา “เปนไข”

จนมาถึงจุดๆ น้ี ที่อาจจะเรียกไดวา “ตัว

ออน” จากแนวความคิดที่จะยึดหลักการเรียน

การสอนโดยเนนผู เรียนเปนสําคัญ โดยใช

กระบวนการการจัดการองคความรูเขามาชวย

มีการแลกเปลี่ยนเรียนรูเกี่ยวกับปญหาการ

เรียนการสอนระหวางของอาจารยรุนใหมกับ

การรวบรวมเทคนิคการเรียนการสอนของ

อาจารยที่จะเกษียณ รวมทั้งการใหความรู

เกี่ยวกับการเรียนการสอนโดยเนนผูเรียนเปน

สําคัญแกผูที่สนใจทั่วไป พวกเราไดดําเนินการ

อยางตอเน่ืองจนนําเขาสูการวิจัยในช้ันเรียน

ในประเด็นปญหาดานตางๆ ที่เกิดข้ึนในช้ัน

เรียน ดังรายละเอียดในอนุสารเลมน้ี ประการ

หน่ึงก็อยากจะบอกกลาวกับทานผูอานวา ใน

ปหนาพวกเราจะนําผลการทําวิจัยในช้ันเรียน

มาเผยแพรใหทานผูอานไดรับทราบ รวมทั้ง

การทดลองใชกับนักเรียนหรือนักศึกษาของ

ตนเอง และอาจจะมี เวทีการแลกเปลี่ยน

เรียนรู ตกผลึกในกระบวนการหรือเทคนิคใน

การแกปญหาตางๆ เพื่อใหการจัดการการ

เรียนการสอนโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ เปน

ผลใหสถาบันเราเขมแข็งและเปนที่ยอมรับ

ของสถาบันอื่นๆ มากข้ึนนะครับ ซึ่งจุดๆ น้ัน

เราเรียกวาเปน “ตัวเต็มวัย” ที่สมบูรณ

ในฉบับปฐมฤกษน้ีจึงใครอยากจะขอแนะนําคณะกรรมการ KM ที่ไดทุมเททั้งกายและใจใน

การทํางาน โดยเริ่มจากทานที่ปรึกษาและตามดวยคณะกรรมการ จํานวน 10 คน ซึ่งในปน้ีนอกจาก

ทีมงานเดิมจากปกอนๆ แลวเรายังมีสมาชิกใหม

เพิ่มเขามาชวยงานอีกหลายทาน

ดังรายช่ือ ตอไปน้ีครับ

รศ.ศรีสกุล วรจันทรา

ที่ปรึกษา

Page 7: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

5

ทางทีมงานสัญญาวาพวกเราจะสรางสรรคงาน KM ใหครบถวนและสมบูรณย่ิงๆ ข้ึนไปในทุก

ดานดวยครับ

ผศ.ดร.ปญญา หม่ันเก็บ

รองประธาน

ผศ.ดร.มณฑล แกนมณี

ทานประธาน

ผศ.ดร.ณัฐกร สงคราม

กรรมการ

นางสําเนา ภัทรรัตนนันท

กรรมการ

นายวรัญู แกนทองหลาง

กรรมการและเลขาฯ

นางสาวมณฑา สุวรรณรัตน

กรรมการและผูชวยเลขาฯ

ดร.ลําแพน ขวัญพูล

กรรมการ

ดร.นิตยา ผกามาศ

กรรมการ

นายจรงค์ศักดิ พุมนวน

กรรมการ

นายอําพล กลอมปญญา

กรรมการ

Page 8: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

6

กิจกรรม KM

ในรอบป 2553 - 2554

สรุปผลการดําเนินงานการจัดการองคความรูของคณะเทคโนโลยีการเกษตร

ประจําปงบประมาณ 2554

ในปงบประมาณ 2554 ชวงเวลาที่จะดําเนินการดานการจัดการองคความรูมีการ

เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมซึ่งดําเนินการตามปงบประมาณ เปนดําเนินการตามปการศึกษา ดังน้ันจึงมี

ความขลุกขลักเล็กนอยในเรื่องของการจัดทําและการดําเนินการตามแผน อยางไรก็ตามคณะฯ ได

พยายามกําหนดประเด็นการจัดการองคความรูระดับคณะใหสอดคลองกับแผนระดับสถาบัน โดยใน

สวนสายวิชาการประเด็นที่กําหนดไวคือ “การเรียนการสอนโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ” สวนในสาย

สนับสนุนคือ “การลดขั้นตอนการบริการ” โดยในประเด็นของสายวิชาการเปนการดําเนินการ

ตอเน่ืองไปจากในปที่ผานมา ซึ่งไดเคยจัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรูในเรื่องดังกลาวกลุม

บุคคลากรสายวิชาการของคณะฯและไดนําขอสรุปที่ไดมาเปนแนวทางในการจัดกิจกรรมในปน้ี สวน

ในสายสนับสนุนน้ันงานทรัพยากรบุคคลของ

คณะฯไดเปนหนวยงานนํารองในการจัดทํา

แนวทางการลดข้ันตอนการบริการ

บรรยากาศการแลกเปลี่ยนเรียนรูเมื่อปที่แลว

คณะกรรมการจัดการองคความรูของคณะฯไดมีการประชุมอยางตอเน่ืองเพื่อวางแผนการจัด

กิจกรรมตามแผนและไดจัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรูเกี่ยวกับการเรียนการสอนโดยเนนผูเรียน

เปนสําคัญในหัวขอ “การวิจัยในชั้นเรียน” ข้ึนในวันที่ 4 สิงหาคม 2554 โดยมีทั้งการบรรยายให

ความรูโดยวิทยากรรับเชิญ และการเสวนาในกลุมผูเขารวมกิจกรรม ซึ่งไดรับความสนใจจาก

คณาจารยทั้งในคณะฯและตางคณะเขามารวมในกิจกรรมเปนจํานวนมาก สวนในสายสนับสนุนน้ัน

งานทรัพยากรบุคคลของคณะจะแสดงแผนภาพข้ันตอนการลาในเรื่องตางๆของบุคคลากร รวมทั้ง

Page 9: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

7

เอกสารที่เกี่ยวของไวในเว็บไซตของคณะฯเพื่อใหบุคลากรไดใชประโยชน และยังมีการพัฒนาเว็บไซต

การจัดการความรูของคณะฯซึ่งไดเก็บองคความรูตางๆ รวมทั้งเปนสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู

ของบุคคลากรในคณะ โดยเว็บไซตน้ีไดรับความ

สนใจและคําชมเชยจากบุคคลภายนอกที่เขามา

เย่ียมชมอยูเสมอ

นอกจากน้ีคณะกรรมการจัดการองคความรูของคณะฯ ยังไดเขารวมกิจกรรมการจัดการองค

ความรูตางๆที่สถาบันและคณะอื่นๆจัดข้ึน อาทิ งาน K-sharing Day ของสถาบัน การบรรยาย

เกี่ยวกับการเรียนการสอนโดยเนนผูเรียนเปน

สําคัญซึ่งจัดโดยคณะวิทยาศาสตร เปนตน

บรรยากาศการแลกเปลี่ยนเรียนรู

เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2554

Page 10: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

8

บันทึกที่นาสนใจ

จาก Weblog

คอลัมนน้ีเปนการคัดเลือกบันทึกบางเรื่องที่นาสนใจจากบล็อกในเว็บไซต KM ของคณะ

(http://www.agri.kmitl.ac.th/km/blog) ที่มีทานสมาชิกไดเขียนไว มาลงในอนุสารเพื่อเปนอีกหน่ึง

ชองทางสําหรับทานที่ไมไดเขาไปในเว็บไดเกิดการแบงปนขอมูลความรูรวมทั้งแนวคิดตางๆ ที่นาจะ

เปนประโยชน และอาจจะชวยจุดประกายใหทานผูอานไดเขาไปเขียนบันทึกลงในบล็อกดวยตัวทาน

เอง ซึ่งทางทีมงานหวังเปนอยางย่ิงวาในฉบับตอๆ คงมีโอกาสไดนําบันทึกของทานผูอานมาแบงปนกัน

บางนะครับ

เร่ืองเลา…เราพลัง

โดย จรงคศักด์ิ พุมนวน

3 มิถุนายน 2553

!!! ผมมีเรื่องของคนอื่นที่จะเลาใหฟง

เรื่องนึงครับ เปนเรื่องที่ไดรับฟงมาตอนเขา

รวม storytelling ในงาน K Sharing Day

ของสถาบันฯ เปนเรื่องของ “แม”

แมคนน้ีมีลูกมาก นับไดก็เปนรอยๆ

คนตอป ลูกมีนิสัยที่แตกตางกันมาก บางคน

พูดจาดี บางคนพูดจาไมเพราะ บางคนไวผม

ยาว บางคนแตงกายไมเรียบรอย บางคนไม

คอยมีสะสตางค บางคนร่ํารวย

ในฐานะที่เปนแม ไมวาลูกๆ จะเปน

อยางไร แมกร็ักลูกทุกคน ใครไมมีสตางคแลว

มาหาแม แมก็พยายามหางานพิเศษใหลูกทํา

ในส วนขอ ง ที่ ทํ า ง านแม เ อ ง ห รื อ ก็ ห า

ทุนการศึกษาใหลูกๆ บางครั้งแมก็ใชสตางค

ของแมเอง ลูกบางคนผมยาวมากไมเรียบรอย

เลยแตนิสัยดี ใครๆ ก็อยากใหลูกตัดผม มีเงิน

จางเปนพันก็ไมยอมตัด แมคนน้ีก็ไดพูดคุยกับ

ลูก ยังบอกลูกอีกวาหากตัดผมแลวอะไรๆ ดีๆ

หลายอยางก็จะเขามาหาลูกเอง ไมวาจะเปน

ทุนการศึกษา กิจกรรมที่ไดทํารวมกับสถาบันฯ

ลูกคนน้ียินดีที่จะตัดผมตามคําขอของแม และ

อีกหลายเรื่องที่แมคนน้ียินดีที่จะทําเพื่อลูกทุก

คน แมบอกวาการรักในอาชีพของทน ทํางาน

ดวยความรัก เห็นนักศึกษาที่เขามารับบริการ

ทุกคนเปนเหมือนลูกเหมือนหลาย แลวเราจะ

มีความสุขกับงานที่เราทํา

ผมเปนคนหน่ึงที่ ช่ือชมแมคนน้ีมาก

แมคนน้ี คือ …“คุณสมทรง ธรฤท ธ์ิ งาน

กิจกรรม นัก ศึกษา คณะสถาป ตยกรรม

ศาสตร”…

Page 11: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

9

นานาเร่ืองราวกับ google : 1

โดย ณัฐกร สงคราม

22 มิถุนายน 2554

เด๋ียวน้ีชองทางสําคัญที่นับเปนแหลง

ทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอนรวมทั้ง

การทํางานอื่นๆ ที่ถูกใชงานมากที่สุดก็นาจะ

เปน search engine ที่ช่ือวา google น่ีแหละ

แทบจะนอยคนมากที่จะไมเคยใช google ใน

การสืบคนขอมูล เมื่อกอนผมก็คิดวา google

ใชเพียงแคการสืบคนอยางเดียว แตเมื่อลองใช

มาเรื่อยๆ กลับพบวามันมีอะไรที่มากมายกวา

น้ัน และใชประโยชนไดหลากหลาย วันน้ีก็เลย

จะขอพูดถึงเรื่องราวของ google โดยจะเริ่ม

จากการเทคนิคการสืบคนที่ผมใชงานบอยที่สุด

เพราะชวยใหคนหาไดตรงและเร็วข้ึน

ปก ติ เ วลา เ ร า ใ ส คํ า สํ า คัญ หรื อ

Keyword ลงไป หากเปนคําเดียวก็ไมตอง

กังวลอะไร แตหากเปนคําที่มากกวา 1 คํา เชน

agriculture technology หากเราใสคําน้ีลง

ไปเลยแลวกด search เราจะไดผลออกมาดัง

ภาพน้ี

แตถาเราใสเครื่องหมาย “” (อัญประกาศ หรือ

เครื่องหมายคําพูด) ลงไปเปน “agriculture

technology” เราจะไดผลดังภาพน้ี

เห็นมั้ยครับวา ผลการคนหาจะนอยลงทันที

เพราะมันจะคนหาเฉพาะเว็บที่มีคํา 2 คําน้ีอยู

ติดกันเทาน้ัน ในขณะที่แบบแรกมันจะคนทุก

เว็บที่มีคํา 2 คําน้ี แตจะอยูหางกันหรือติดกัน

ก็ได

อันน้ีก็เปนเทคนิคงายๆ ที่ผมใชเปน

ประจํา ลองนําไปใชกันดูนะครับ

นานาเร่ืองราวกับ google : 2

โดย ณัฐกร สงคราม

21 กรกฎาคม 2554

ในเครื่องมือ search engine ของ

google ยังมีวิธีการไดมาซึ่งขอมูลอีก 1 อยาง

ที่ผมใชบอยๆ น้ันคือ ปุม “แคช” (Cached)

ซึ่งจะมีประโยชนมากในกรณีที่ search ดวย

keyword และพบเว็บที่ตองการแลวจาก

รายช่ือที่ google แสดงให (และเห็นเน้ือหา

ยอๆ ที่แสดงใตช่ือเว็บน้ันๆ) แตปรากฏวาพอ

คลิกเขาไปที่ url ของเว็บ กลับไมพบเว็บ

ดังกลาว เพราะเว็บน้ันอาจลมช่ัวคราว หรือ

เขาไปแลวกลับไมเจอเน้ือหาที่ตองการเพราะมี

การ update ขอมูลใหมใสเขาไป

Page 12: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

10

แรกๆ เหตุการณลักษณะน้ีทํ าใหผมเสีย

อารมณมากเพราะเห็นเว็บแลวแตไมสามารถ

นําขอมูลที่ตองการมาใชงานได ตอมาจึงรูวา

google ไดตระหนักถึงปญหาน้ี (จริงๆ คงกลัว

วาคนใชจะตอวาที่ไมเห็นมีขอมูลตามตัวอยาง

ที่แสดง) ดังน้ัน google จึงมีปุม “แคช”

(Cached) มาใหทายช่ือของเว็บไซตที่แสดง

ข้ึนมาในหนาแสดงผลการคนหา ซึ่งเมื่อคลิก

เขาไปจะเจอหนาเว็บน้ันๆ ที่ google ไดทํา

การบันทึกเก็บไวในฐานขอมูลครั้งลาสุดที่

ระบบโปรแกรม robot ของ google เขาไป

สํารวจเว็บดังกลาว และชวยใหผูใชสามารถ

เขาไปดูเน้ือหาที่ตองการได

ต อ ไป เ วล าคลิ ก ไป ที่ เ ว็ บ ต าม ที่

google แสดงผลการคนหาแลวไมเจอขอมูล

ดังกลาว อย าเพิ่ ง โมโหนะครับ กด back

กลับมาที่หนาผลการคนหาอีกครั้ง แลวลอง

คลิกปุม ”แคช” (Cached) ดู ผมเช่ือวาทาน

จะไดขอมูลที่ตองการแนนอน แตถายังไมพบก็

โทษระบบของ google แลวกันนะครับ…อยา

โทษผมเลย

ไรฝุน…ภัยรายใกลตัวท่ีมองไมเห็น

โดย จรงคศักด์ิ พุมนวน

20 ธันวาคม 2552

ไรฝุนหรือไรฝุนบาน (house dust mite)

จัดเปนสัตวขาปลองชนิดเดียวกับแมลงและแมง มีขนาด

ประมาณ 0.3 มิลลิเมตร ชอบอาศัยอยูในที่มีอุณหภูมิ

25–30°C ความช้ืนสัมพัทธ 60–70%RH ไมชอบแสง

สวาง แหลงที่อยูของไรฝุนมักพบในบานเรือนเชน ที่นอน

หมอน ผาหม โซฟา ผามาน พรม และตุกตาที่ใชวัสดุ

ภายในเปนเสนใยเปนตน ไรฝุนจะมีชีวิตอยูโดยการกินเศษข้ีไคล ข้ีรังแค สะเก็ดผิวหนังเปนอาหาร

รายงานวาความชุกของโรคภูมิแพที่มีสาเหตุมาจากไรฝุนสูงและมีแนวโนมที่จะมากข้ึนทุกป ผูที่ไดรับ

สารกอภูมิแพไรฝุนจากการสูดดมมูลไรฝุนทําใหไปกระตุนรางกายใหเกิดอาการภูมิแพ เชน นํ้ามูกไหล

คันตา ไอ จาม โพรงจมูกอักเสบ ตอมาก็เปนโรคหอบหืด หรือหลอดลมตีบตันถึงแกชีวิตได

ปจจุบันประชาชนไดเริ่มตระหนักถึงอันตรายของโรคภูมิแพที่เกิดจากไรฝุน จึงใหความสนใจ

ในการดูแลรักษาและปองกันสุขภาพของตนเองมากข้ึน ดังน้ันจึงมีผลทําใหเกิดการศึกษาคนควาและ

วิจัยเพื่อหาวิธีการปองกันกําจัด และลดปริมาณของไรฝุนใหนอยลงจนอยูในระดับที่ไมกอใหเกิดอาการ

ของโรคภูมิแพ เชน การใชความรอน การใชความเย็น การใชสารเคมี การรักษาความสะอาดเครื่อง

Page 13: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

11

นอนเครื่องใชตางๆ เปนตน สําหรับการใชสารเคมียังไมเปนที่นิยมแมวาสารบางชนิดสามารถฆาไรได

แตวิธีการน้ียังไมมีรายงานยืนยันในความปลอดภัยในการใชระยะยาวซึ่งมีผลความเสี่ยงจากพิษตกคาง

ทั้งน้ีเน่ืองจากตองนํามาใชกับเครื่องนอน ซึ่งมีการสัมผัสโดยตรงและยาวนานตอผูใช

การลดสารกอภูมิแพในบานเรือน โดย

การลดจํานวนประชากรของไรที่มีชีวิต เพื่อลด

ระดับสารกอภูมิแพ และลดการที่เราไดรับสาร

กอภูมิแพ สามารถทําไดโดยวิธีตอไปน้ี

1. การเลือกใช เครื่องนอน ควร

เลือกใชเครื่องนอนที่หุมดวยผาที่มีการสาน

ดวยเสนใยที่อัดแนนหรือพลาสติก หรือ

เลือกใชวัสดุที่ทําเครื่องนอน

2. การท้ิงเครื่องนอน ในกรณีที่มีไร

ฝุนมากอาจทิ้งเครื่องนอน พรม เฟอรนิเจอรที่

ภายในทําจากวัสดุเสนใย หรือนุน ที่มีอายุการ

ใชงานหลายป

3. การใชความรอนและความเย็น

เน่ืองจากการควบคุมปริมาณไรฝุนและสารกอ

ภูมิแพในเครื่องนอนและเฟอรนิเจอรสามารถ

ทําไดยาก โดยทั่วไปไรฝุนจะไมสามารถทน

ความรอนสูงได การนําออกมาผึ่งแดดยังไมมี

ประสิทธิภาพในการฆาไรฝุนมากพอ เพราะ

แสงแดดไมสามารถฆาตัวไรฝุนหรือทําลายสาร

ภูมิแพได อุณหภูมิจากแสงแดดจัดๆ ซึ่งไรฝุน

จะหนีความรอนจากดานบนไปสะสมอยู

ดานลาง ซึ่งสามารถฆาไขไรฝุนได เพียง 10%

เทาน้ัน อยางไรก็ตามเน่ืองจากมูลไรฝุนมี

คุณสมบัติละลายนํ้าไดดีดังน้ันจึงควรนําวิธีการ

ซัก (Washing) มาใชในการกําจัดสารกอ

ภูมิแพไรฝุน แตการซักผาในนํ้าเย็นปกติหรือใช

ผงซักฟอกไมสามารถฆาตัวไรฝุนได เพราะไร

ฝุนสามารถมีชีวิตอยูในนํ้าไดนานหลายวัน

4. การลดความชื้นภายในบาน ไรฝุน

ชอบอาศัยในสิ่งแวดลอมที่มีความช้ืนสูง ดังน้ัน

การลดระดับความช้ืนในบานใหตํ่ากวา 50%

สามารถลดจํานวนของไรและลดระดับสารกอ

ภูมิแพได เพราะความช้ืนมีอิทธิพลตอการอยู

รอดของไร จากการศึกษาในหองปฏิบัติการที่

อุณหภูมิ 25–34°C และความช้ืนสัมพัทธ 40–

50%RH ไรจะตายเพราะการขาดนํ้าภายใน 5-

11 วัน แต วิ ธีการ น้ีปฏิบั ติ ไดยากมากใน

ประเทศไทย

5. การดูดฝุน เน่ืองจากการศึกษา

เกี่ยวกับประสิทธิภาพของเครื่องดูดฝุนในการ

ดูดฝุนเพื่อกําจัดไรฝุนยังมีไมมากนัก และใน

ปจจุบัน ยังไมมีเครื่องดูดฝุนที่เปนมาตรฐานที่

ใชในการดูดตัวไรฝุนอยางไดผลดี จึงยังไมมี

ขอสรุปที่เพียงพอในการใหคําแนะนํา อยางไร

ก็ตามผูปวยอาจใชเครื่องดูดฝุนชนิดธรรมดา

หรือชนิด high filtration machine เพื่อลด

จํานวนไรฝุนและสารภูมิแพลงไดบาง ไม

แนะนําใหใชพรมในหองผูปวย เน่ืองจากไรฝุน

มีขาที่แข็งแรงในการยึดเกาะติดกับเสนใย ทํา

ใหดูดตัวไรฝุนออกมาไดยาก แมเครื่องดูดฝุน

จะดูดเอาสารกอภูมิแพออกได แตสารกอ

ภูมิแพน้ันอาจฟุงกระจายออกจากเครื่องดูดฝุน

ที่มี ถุ งเก็บฝุนแบบธรรมดา ดัง น้ันการใช

เครื่องดูดฝุนจะไดประโยชนอยางแทจริง เมื่อ

ใชถุงเก็บฝุนชนิดที่สามารถปองกันการเล็ด

ลอดของไรฝุนและสารกอภูมิแพได

Page 14: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

12

6. การคลุมดวยผาเสนใยสานแนน

เน่ืองจากตัวไรฝุนมีขนาดประมาณ 0.3 mm

และมูลไรฝุนมีขนาด 0.01-0.04 mm ดังน้ัน

เพื่อใหไดผล จะตองใชผาที่มีเสนใยขนาดถ่ี

เพียงพอคลุมช้ันในกอน ปจจุบันมีผาคลุมที่ใช

วัสดุตางๆกัน เชน ผาที่ทําจาก vinyl, nylon,

cotton หรือวัสดุอื่นๆ บางชนิดอาจเคลือบ

นํ้ายาประเภท polyurethane ไวดานในอีก

ช้ันหน่ึง สําหรับผาพลาสติกจะทึบไมมีชอง

ระบายความรอน และไมนุม ทําใหนอนไม

สบายตัว การใชผาเสนใยสานแนนชนิดน้ี ควร

ใชคลุมหมอนแลวจึงสวมผาปลอกหมอน และ

คลุมที่นอนกอนปูทับดวยผาปูที่นอน ปจจุบันมี

การศึกษาพบวา หมอนที่บรรจุขนสัตวภายใน

จะตรวจพบสารภูมิแพจากไรฝุนนอยกวา

หมอนที่บรรจุดวยใยโพลีเอสเตอรถึง 5 เทา

เน่ืองจากหมอนขนสัตว ใชผาเสนใยถ่ีหอหุม

เพื่อปองกันขนสัตว เล็ดลอดและมีปลอก

ภายนอกอีกช้ัน ทําใหมีการปองกัน 2 ช้ัน ตัว

ไรฝุนและมูลจึงออกมาไดยากข้ึน

7. การใชสารเคมี สารเคมีที่ใชในการ

ฆาตัวไรฝุนหรือที่เรียกวา acaricide ที่นิยมใช

กันไดแก benzyl benzoate, pyrethroids,

natamycin ในประเทศไทยการใช acaricides

ในการทําลายไรฝุนยังไมแพรหลาย แตใน

ตางประเทศนิยมใชในการฆาไรฝุนในพรมแต

ยังไมแนะนําใหใชกับที่นอนหรือเครื่องนอน

เน่ืองจากอาจทําใหมีการสะสมของสารเคมี

เพราะตองใชทุก 1-2 เดือน นอกจากน้ียังมี

สารอีกประเภทที่ทําใหสารแพซึ่งเปนโปรตีน

เสื่อมสภาพ ไดแก tannic acid พบวา

สามารถทําลายสารภูมิแพได ปจจุบัน ไดมี

ผลิตภัณฑหลายชนิด ที่กลาววาสามารถยับย้ัง

ไร ฝุ น ห รื อทํ า ล ายส า ร แพ จ าก ไร ฝุ น ไ ด

ออกจําหนายในรูปแบบตางๆกันเชน สเปรย

โฟม ผงโรย การเคลือบสารเคมีหรือสารจาก

ธรรมชาติลงบนผา จากน้ันนําผามาบุเพื่อทํา

เปนที่นอนหรือโซฟา อยางไรก็ตามสารเหลาน้ี

มีอายุการใชงานจึง จึงยังไมมีงานวิจัยใด ที่

ยืน ยันแน ชัดว าส าร เคลื อบเหล า น้ี จะมี

ประสิท ธิภาพตลอดอายุการใช งานของ

เครื่องใชน้ันๆ

8. การใชนํ้ามันหอมระเหยจากพืช

ในการปองกันและกําจัดไรฝุน โดยการนําสาร

สกัดหรือนํ้ามันหอมระเหยจากพืชสมุนไพรฉีด

พนหรือรม เครื่ องนอน เชน ที่นอนหรื อ

หองนอน ซึ่งนับวาเปนวิธีการที่นาสนใจ ทั้งใน

แงของประสิทธิภาพในการควบคุมและความ

ปลอดภัยตอผูอยูอาศัยรวมทั้งตอสิ่งแวดลอม

เพื่อการนํามาใชแทนสารเคมีกําจัดไร

ชัดลึก ชัดต้ืน

โดย Mr.Photo

24 มิถุนายน 2552

ในการถายภาพคําวา “ชัดลึก” “ชัดต้ืน” มักมี “ความเขาใจผิด” สวนใหญคิดวาชัดต้ืนคือ

วัตถุที่อยูใกลชัด วัตถุที่อยูไกลเบลอ สวนชัดลึกคือวัตถุที่อยูใกลเบลอ แตวัตถุที่อยูไกลชัด

Page 15: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

13

แตจริงๆ แลวภาพทั้งสองภาพน้ีเราเรียกวาชัดต้ืน โดยความหมายที่ถูกตองของภาพชัดต้ืนคือ

หากเราโฟกัสที่ไหน สวนที่อยูในระยะที่ใกลหรือไกลจากจุดสนใจจะเบลอหรือชัดนอยกวา ในขณะที่

ภาพชัดลึกคือภาพที่ไมวาเราโฟกัสที่ใด สวนที่อยูใกลหรือไกลก็ชัดเชนเดียวกัน ตามตัวอยาง

โดยปกติเรามักถายภาพชัดลึกกับ

ภาพมุมกวางที่เนนวิวทิวทัศน สวนภาพชัดต้ืน

มักใชกับภาพบุคคลเพื่อใหตัวแบบเดนกวาฉาก

หนาหรือฉากหลังที่เราไมตองการ

วิธีการถายภาพเพื่อใหไดชัดลึกชัดต้ืน

มีหลายแนวทาง ไมวาจะเปนเรื่องการเลือกใช

ชวงซูมของเลนส การกําหนดขนาดรูรับแสง

ระยะหางระหวางกลองกับแบบ ซึ่งผูใชกลอง

ตองเขาใจวิธีการปรับแตงกลองพอสมควร

ในที่น้ีผมขอแนะนําวิธีงายๆ สําหรับผูใชทั่วๆ

ไปที่ใชกลอง compact ธรรมดา ดังน้ี

1. เปลี่ยนจากการใชโหมด Auto ไปเปน

โหมดถายภาพวิว หากตองการใหภาพชัดลึก

และเปลี่ยนไปใชโหมดภาพกีฬา หรือภาพ

บุคคล หากตองการภาพชัดต้ืน

2. หากตองการภาพชัดต้ืน ใหเขาไปใกล

ตัวแบบมากๆ แตอยาใกลเกินไปจนโฟกัสไมได

หรือใชวิธีถอยหางจากตัวแบบแลวใชวิธีซูมเขา

ไป (Zoom In)

3. หากตองการภาพชัดลึก ใชวิธีซูมออก

(Zoom Out) แตก็ไมควรเขาใกลวัตถุหรือตัว

แบบจนเกินไป

หากมีเวลาก็ลองทดลองดูนะครับวาไดผล

อยางที่ตองการรึเปลา….

Page 16: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

14

บทความวิชาการ

การจัดการเรียนการสอนโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ

แตเดิมแนวคิดในการจัดการเรียนการสอนเปนการยึดผูสอนเปนศูนยกลาง (Teacher

centered) โดยผูสอนเปนผูกําหนดเน้ือหาและวิธีการเรียนการสอนเอง ซึ่งสวนใหญเปนเพียงการ

บรรยายหนาช้ันเรียนเทาน้ัน ตอมานักการศึกษาเช่ือวาแนวคิดดังกลาวไมไดเอื้อตอเกิดการพัฒนา

ผูเรียนอยางแทจริง เพราะไมใชวิธีการที่ตอบสนองตอความตองการหรือลักษณะของผูเรียน การศึกษา

ควรใหความสําคัญกับ “การเรียน” มากกวา “การสอน” และนํามาสูแนวคิดของการจัดการเรียนการ

สอนที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง (Student centered หรือ Child centered) ซึ่งตอมาไดเปลี่ยนมา

เรียกวา “การเรียนการสอนโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ”

การเรียนการสอนโดยเนนผูเรียนเปน

สําคัญ หมายถึง “การจัดการเรียนการสอนที่

มุงใหผู เรียนสามารถแสวงหาความรู และ

พัฒนาความรูไดตามธรรมชาติและเต็มตาม

ศักยภาพของตนเอง สนับสนุนใหมีการฝกและ

ปฏิบั ติในสภาพจริงของการทํางาน มีการ

เ ช่ื อ ม โ ย ง สิ่ ง ที่ เ รี ย นกั บ สั ง คมแล ะก า ร

ประยุกตใช รวมทั้ งการจัดกิจกรรมและ

กระบวนการ ให ผู เ รี ยน ได คิด วิ เ คร าะห

สังเคราะห ประเมินและสรางสรรคสิ่งตางๆ

โดยไมเนนไปที่การทองจําเพียงเน้ือหา”

ลักษณะของกิจกรรมการเรียนการสอน

1. Active Learning เปนกิจกรรม

ที่ผูเรียนเปนผูกระทําหรือปฏิบัติดวยตนเอง

ดวยความกระตือรือรน เชน ไดคิด คนควา

ทดลองรายงาน ทําโครงการ สัมภาษณ

แกปญหา ฯลฯ ไดใชประสาทสัมผัสตางๆ ทํา

ใหเกิดการเรียนรูดวยตนเองอยางแทจริง โดย

ผูสอนทําหนาที่เตรียมการจัดบรรยากาศการ

เรียนรู จัดสื่อสิ่งเราเสริมแรงใหคําปรึกษาและ

สรุปสาระการเรียนรูรวมกัน

2. Construct เปนกิจกรรมที่ผูเรียน

ไดคนพบสาระสําคัญหรือองคการความรูใหม

ดวยตนเอง อันเกิดจากการไดศึกษาคนควา

ทดลอง แลกเปลี่ยนเรียนรูและลงมือปฏิบัติ

จริง ซึ่งจะทําใหผูเรียนสามารถนําสิ่งที่เรียนรู

ไปใชไดจริงในชีวิตประจําวัน รวมทั้งทําให

ผูเรียนรักการอาน รักการศึกษาคนควาเกิด

ทักษะในการแสวงหาความรู เห็นความสําคัญ

ของการเรียนรู ซึ่งนําไปสูการเปนบุคคลแหง

การเรียนรู (Learning Man) ที่พึงประสงค

3. Resource เปนกิจกรรมที่ผูเรียน

ไดเรียนรูจากแหลงเรียนรูตางๆ ที่หลากหลาย

ทั้งบุคคลและเครื่องมือทั้งในหองเรียนและ

นอกหองเรียน ผูเรียนไดสัมผัสและสัมพันธกับ

สิ่ งแวดล อมทั้ งที่ เปนมนุษย เช น ชุมชน

ครอบครัว องคกร ธรรมชาติและเทคโนโลยี

Page 17: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

15

ตามหลักการที่วา "การเรียนรูเกิดข้ึนไดทุกที่

ทุกเวลาและทุกสถานการณ"

4. Thinking เปนกิจกรรมที่สงเสริม

กระบวนการคิด ผูเรียนไดฝกวิธีคิดในหลาย

ลักษณะ เชน คิดคลอง คิดหลากหลาย คิด

ละเอียด คิดชัดเจน คิดถูก ทางคิดกวาง คิด

ลึกซึ้ง คิดไกล คิดอยางมีเหตุผล เปนตน การ

ฝกใหผูเรียนไดคิดอยูเสมอในลักษณะตางๆ จะ

ทําใหผูเรียนเปนคนคิดเปน แกปญหาเปน คิด

อยางรอบคอบมีเหตุผล มีวิจารณญาณ ในการ

คิด มีความคิดสรางสรรค มีความสามารถใน

การคิดวิเคราะหที่จะเลือกรับและปฏิเสธขอมูล

ขาวสารตางๆ ไดอยางเหมาะสม ตลอดจน

สามารถแสดงความคิดเห็นออกไดอยางชัดเจน

และมี เหตุผลอันเปนประโยชนตอการดํารง

ชีวิตประจําวัน

5. Happiness เปนกิจกรรมที่

ผูเรียนเรียนอยางมีความสุข ซึ่งเปนความสุขที่

เกิดจาก 1) ผูเรียนไดเรียนในสิ่งที่ตนชอบหรือ

สนใจ ทําใหเกิดแรงจูงใจในการใฝรู ทาทาย

อยากคนควา อยากแสดงความสามารถและให

ใชศักยภาพของตนอยางเต็มที่ 2) การมี

ปฏิสัมพันธ (Interaction) ระหวางผูเรียนกับ

ผูสอนและระหวางผูเรียนกับผูเรียน มีลักษณะ

เปนกัลยาณมิตร มีการชวยเหลือเกื้อกูลซึ่งกัน

และกัน มีกิจกรรมรวมดวยชวยกัน ทําให

ผูเรียนรูสึกมีความสุขและสนุกกับการเรียน

6. Participation เปนกิจกรรมที่

เนนการใหผูเรียนมีสวนรวม ต้ังแตการวางแผน

กําหนดงาน วางเปาหมายรวมกัน และมี

โอกาสเลือกทํางานหรือศึกษาคนควาในเรื่องที่

ตรงกับความถนัดความสามารถ ความสนใจ

ของตนเอง ทํ าใหผู เรียนเรียนดวยความ

กระตือรือรน มองเห็นคุณคาของสิ่งที่ เรียน

และสามารถ ประ ยุกต ความรู นํ า ไป ใช

ประโยชนในชีวิตจริง

7. Individualization เปนกิจกรรม

ที่ผูสอนใหความสําคัญแกผูเรียนในความเปน

เอกัตบุคคล ผูสอนตองยอมรับในความสามารถ

ความคิดเห็น ความแตกตางระหวางบุคคลของ

ผู เรียน มุงใหผู เรียนไดพัฒนาตนเองใหเต็ม

ศักยภาพมากกวาเปรียบเทียบแขงขันระหวาง

กั น โ ดยมี ค ว าม เ ช่ื อ มั่ น ผู เ รี ย นทุ ก คน มี

ความสามารถในการเรียนรูได และมีวิธีการ

เรียนรูที่แตกตางกัน

8. Good Habit เปนกิจกรรมที่

ผูเรียนไดพัฒนาคุณลักษณะนิสัยที่ดีงาม เชน

ความรับผิดชอบ ความเมตตา กรุณา ความมี

นํ้าใจ ความขยัน ความมีระเบียบวินัย ความ

เสียสละ ฯลฯ และ ลักษณะนิสัยในการทํางาน

อยางเปนกระบวนการการทํางานรวมกับผูอื่น

การยอมรับผูอื่น และ การเห็นคุณคาของงาน

เปนตน

9. Self Evaluation เปนกิจกรรม

ที่เนนการประเมินตนเอง เดิมผูสอนเปนผู

ประเมินฝายเดียว แตการเปดโอกาสใหผูเรียน

ประเมินตนเองอยางสม่ําเสมอและตอเน่ือง จะ

ชวยใหผู เรียนเขาใจตนเองไดชัดเจนข้ึน รุ

จุดเดนจุดดอยและพรอมที่จะปรับปรุงหรือ

พัฒนาตนเองใหเหมาะสมย่ิงข้ึน การประเมิน

ในสวนน้ีเปนการประเมินตามสภาพจริงและ

อาจใชแฟมสะสมผลงานชวย

Page 18: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

16

บทบาทของผูสอน

บทบาทของผูสอนในการเรียนการสอนโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญจะไมเปนผูช้ีนําหรือผูออก

คําสั่งแตจะเปลี่ยนเปนผูกระตุน ผูอํานวยความสะดวกและใหคําแนะนําชวยเหลือเมื่อจําเปน ติดตาม

ตรวจสอบ รวมทั้งใหการสนับสนุนดานอุปกรณการเรียนรู เชน แหลงขอมูล เทคโนโลยี คอมพิวเตอร

อุปกรณที่เปนสื่อการเรียนรูรูปแบบ

ตางๆ เว็บไซด อีเมล ฯลฯ ซึ่งเมื่อ

เ ป รี ย บ เ ที ย บ ลั ก ษณะก าร จั ด

กิจกรรมการเรียนการสอนของ

อาจารยสมัยใหมกับอาจารยสมัย

เกาก็จะเห็นความแตกตาง ดังน้ี

อาจารยสมัยใหม อาจารยสมัยเกา

1. สอนผูเรียนโดยวิธีบูรณาการเน้ือหาวิชา 1. สอนแยกเน้ือหาวิชา

2. แสดงบทบาทในฐานะผูแนะนํา (Guide)

ประสบการณทางการศึกษา

2. มีบทบาทในฐานะตัวแทนของเน้ือหาวิชา

(Knowledge)

3. กระตือรือรนในบทบาท ความรูสึกของผูเรียน 3. ละเลยเฉยเมยตอบทบาทผูเรียน

4. ใหผูเรียนมีสวนรวมในการวางแผนของ

หลักสูตร

4. ผูเรียนไมมีสวนรวมแมแตจะพูดเก่ียวกับ

หลักสูตร

5. ใชเทคนิคการคนพบดวยตนเองของผูเรียนเปน

กิจกรรมหลัก

5. ใชเทคนิคการเรียนโดยใชการจําเปนหลัก

6. เสริมแรงหรือใหรางวัลมากกวาการลงโทษ

โดยใชแรงจูงใจภายใน

6. มุงเนนการใหรางวัลภายนอก เชน เกรด

แรงจูงใจภายนอก

7. ไมเครงครัดกับมาตรฐานทางวิชาการจนเกินไป 7. เครงครัดกับมาตรฐานทางวิชาการมาก

8. มีการทดสอบเล็กนอย 8. มีการทดสอบสมํ่าเสมอเปนระยะๆ

9. มุงเนนการทํางานแบบรวมใจ 9. มุงเนนการแขงขัน

10. สอนโดยไมยึดติดกับหองเรียน 10. สอนในขอบเขตของหองเรียน

11. มุงสรางสรรค ประสบการณใหมใหผูเรียน 11. เนนย้ําประสบการณใหมเพียงเล็กนอย

12. มุงเนนความรูทางวิชาการและทักษะดานจิต

พิสัยเทาเทียมกัน

12. มุงเนนความรูทางวิชาการเปนสําคัญ ละเลย

ความรูสึกหรือทักษะทางดานจิตพิสัย

13. มุงเนนการประเมินกระบวนการเปนสําคัญ 13. ประเมินกระบวนการเล็กนอย

Page 19: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

17

กลยุทธในการจัดการเรียนการสอนโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ

กลยุทธท่ี 1 การใชรูปแบบและวิธีการเรียนการสอน

เปนการนํารูปแบบและวิธีการเรียนการสอนที่นาสนใจมาใชจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่

สอดคลองตามหลักการของการเรียนการสอนโดยยึดผูเรียนเปนสําคัญ ซึ่งมีทั้งเทคนิคและวิธีการสอน

ประกอบการบรรยายโดยผูสอน หรือการใชกระบวนการเรียนการสอนที่เนนใหผูเรียนเปนผูดําเนิน

กิจกรรมตามข้ันตอนที่กําหนดไว ตัวอยางเชน

การเรียนที่ใชปญหาเปนหลัก (Problem-based Learning)

การเรียนที่ใชการวิจัยเปนฐาน (Research–based Learning)

การเรียนแบบโครงงาน (Project-based Learning)

การจัดการเรียนการสอนแบบสืบคน (Inquiry Instruction)

การเรียนแบบรวมมือ (Cooperative/Collaborative Learning)

การจัดการเรียนแบบบูรณาการ (Integrated Learning Management)

เทคนิคการใช Concept Mapping

เทคนิคการใช Learning Contracts

เทคนิคบทบาทสมมติ (Role Playing Model)

เทคนิคหมวก 6 ใบ

เทคนิคการเรียนการสอนแบบจิ๊กซอร (Jigsaw) ฯลฯ

กลยุทธท่ี 2 การใชสื่อและเทคโนโลยีประกอบการเรียนการสอน

เปนการนําสื่อการเรียนการสอนรูปแบบตางๆ ทั้งดานภาพและเสียง รวมทั้งเทคโนโลยีที่

นาสนใจ โดยเฉพาะทางดานคอมพิวเตอรมาใชในการเรียนการสอน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อชวยสราง

ความรูความเขาใจในเน้ือหาบทเรียน กระตุนความสนใจและสรางแรงจูงใจในการเรียน รวมทั้ง

สนับสนุนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทั้งในรูปแบบแหลงทรัพยากรการเรียนรู การติดตอสื่อสาร

ระหวางผูสอนกับผูเรียน หรือระหวางผูเรียนดวยกันเอง ตัวอยางเชน

การใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน (CAI) หรือสื่อเพื่อการเรียนรูดวยตนเอง

การเรียนอิเล็กทรอนิกส (E-learning, M-learning, U-learning)

การเรียนแบบผสมผสาน (Blended / Hybrid Learning)

การใชเครื่องมือทางปญญา (Cognitive Tools)

การใชเครือขายสังคมออนไลน (Social Network)

Page 20: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

18

การวัดและประเมินผล

การวัดและประเมินผลในการเรียนการสอนโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญตามสภาพจริงนิยมใช

การประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment) เปนการประเมินการแสดงออกของผูเรียน

รอบดานตลอดเวลา ใชขอมูลและวิธีการหลากหลาย ดวยวิธีการและเครื่องมือ ดังน้ี

1. ศึกษาวัตถุประสงคของการประเมิน เปนการประเมินเพื่อพัฒนาผูเรียนรอบดาน ดังน้ัน

จึงใชวิธีการที่หลากหลาย ข้ึนอยูกับจุดประสงค เชน การสังเกต สัมภาษณ การตรวจผลงาน การ

ทดสอบ บันทึกจากผูเกี่ยวของ การรายงานตนเองของผูเรียน แฟมสะสมงาน เปนตน

2. กําหนดเครื่องมือในการประเมิน เมื่อกําหนดวัตถุประสงคของการประเมิน ใหเปนการ

ประเมินพัฒนาการของผูเรียนรอบดานตามสภาพจริงแลว ในการกําหนดเครื่องมือจึงเปนเครื่องมือที่

หลากหลาย เปนตนวา

- การบันทึกขอมูล จากการศึกษา ผลงาน โครงงาน หนังสือที่ผูเรียนผลิต แบบบันทึก

ตางๆ ไดแก แบบบันทึกความรูสึก บันทึกความคิด บันทึกของผู เกี่ ยวของ (ผู เรียน เพื่อน ครู

ผูปกครอง) หลักฐานรองรอยหรือผลงานจากการรวมกิจกรรม เปนตน

- แบบสังเกต เปนการสังเกตพฤติกรรม การรวมกิจกรรมในสถานการณตาง ๆ

- แบบสัมภาษณ เปนการสัมภาษณความรูสึก ความคิดเห็น ทั้งตัวผูเรียน และผูเกี่ยวของ

- แฟมสะสมงาน เปนสื่อที่รวบรวมผลงานหรือตัวอยางหรือหลักฐานที่แสดงถึง

ผลสัมฤทธ์ิ ความสามารถ ความพยายาม หรือความถนัดของบุคคลหรือประเด็นสําคัญที่ตองเก็บไว

อยางเปนระบบ

- แบบทดสอบ เปนเครื่องมือวัดความรู ความเขาใจที่ยังคงมีความสําคัญตอการประเมิน

สําหรับผูประเมิน ประกอบดวย ผูเรียนประเมินตนเอง ครู เพื่อน/กลุมเพื่อน ผูปกครอง และ

ผูเกี่ยวของกับผูเรียน

Page 21: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

19

ตัวอยางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ

ตัวอยางท่ี 1

การเรียนท่ีใชปญหาเปนหลัก

การเรียนที่ใชปญหาเปนหลัก (Problem-based Learning) เปนรูปแบบการเรียนที่มีผูเรียน

เปนศูนยกลางรูปแบบหน่ึงที่นิยมใชกันมากโดยเริ่มมาจากสาขาแพทยศาสตรและแพรหลายไปสูสาขา

อื่นๆ แนวคิดหลักของรูปแบบน้ีคือการใชสถานการณปญหาเปนตัวกระตุนใหผูเรียนแสวงหาความรู

เพื่อนํามาแกปญหาน้ัน ซึ่งจะชวยใหผูเรียนสามารถพัฒนาโครงสรางความรูไดดวยตนเอง ในที่น้ีจะขอ

ยกตัวอยางจากงานวิจัยของ อ.ณัฐกร สงคราม ที่ไดทําการทดลองใชกับนักศึกษาสาขาพัฒนาการ

เกษตรและการจัดการทรัพยากร ในรายวิชาการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการเกษตร

ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2553 โดยมีกระบวนการของการเรียนการสอนดังตอไปน้ี

ขั้นตอนท่ี 1) เตรียมความพรอมผูเรียน

1.1) ผูสอนปฐมนิเทศเพื่อใหผูเรียน

ทราบเปาหมายของการเรียน ข้ันตอนและ

วิธีการเรียนการสอน สื่อและเครื่องมือที่ใช

สถานที่ บทบาทของผูสอน บทบาทของผูเรียน

การแบงกลุมผูเรียน ระยะเวลาในการเรียน

รวมทั้งวิธีการและเกณฑการประเมิน หรือ

เงื่อนไขสําคัญอื่นๆ ที่เกี่ยวของ

1.2) ผูสอนแบงกลุมผูเรียนออกเปน

กลุมยอย (5-8 คน) โดยพยายามจัดกลุมให

เฉลี่ยความรู ความสามารถแตละกลุมใกลเคียง

กั นและ ไม ควร จั ดผู เ รี ยนที่ ป ร ะพฤติ ไม

เหมาะสมหรือไมคอยสนใจการเรียนอยูรวมกัน

จากน้ันคัดเลือกสมาชิกในกลุมเพื่อทําหนาที่

เปนประธานและเลขานุการ

1.3) ผูสอนฝกอบรมเพื่อใหความรู

ความเขาใจ และทักษะที่จําเปนตอการเรียน

และการทํางานกลุม ไดแก การระบุปญหาและ

การเขียนสมมติฐาน การเขียนผังความคิด

เทคนิคและวิธีการประชุม การจดบันทึกและ

การเขียนรายงานการประชุม รวมทั้งการสาธิต

และใหผูเรียนไดทดลองฝกปฏิบัติการใชงาน

สื่อหรือเครื่องมือที่จะชวยสนับสนุนการเรียน

หรือการทํางานของกลุม

ขั้นตอนท่ี 2) เสนอสถานการณปญหา

2.1) ผูสอนเกริ่นนําเขาสูสถานการณ

ที่ผูเรียนจะไดพบ โดยพยายามเช่ือมโยงกับ

Page 22: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

20

ความรูและประสบการณเดิมเพื่อใหผูเรียนเห็น

ความสําคัญและคุณคาของปญหาน้ัน

2.2) ผู สอนนําเสนอสถานการณ

ปญหาทางการเกษตร โดยในการวิจัยครั้งน้ีใช

กรณีตัวอยางของ “ลุงสําราญ” เกษตรกร

เจาของสวนมังคุดในจังหวัดระยอง ที่กําลัง

ประสบปญหาผลผลิตลนตลาดทําใหขายมังคุด

ไดราคาตํ่า เ น่ืองจากสถานการณปญหา

ดังกลาวเกี่ยวของกับสาขาวิชาของผูเรียนและ

เปนปญหาที่มีหลายสาเหตุรวมกันสงผลใหเกิด

ปญหา ซึ่งลักษณะปญหาเชนน้ีจะชวยใหผูเรียน

ไดฝกการวิเคราะหปญหาและต้ังสมมติฐานได

หลากหลายรวมทั้ งสามารถวางแผนการ

แกปญหาไดทั้งในระยะสั้นและระยะยาว

2.3) ผูสอนใชคําพูดที่ทาทายเพื่อ

กระตุนใหผู เรียนอยากที่จะแกปญหาจาก

สถานการณ

2.4) ผูสอนแนะนําชองทางสําหรับ

สืบคนขอมูล ทั้งจากแหลงขอมูลภายในหรือ

จากแหลงขอมูลภายนอกที่ผูเรียนสามารถเขา

ไปคนควาเพื่อหาแนวทางการแกปญหา

ขั้นตอนท่ี 3) กําหนดกรอบการศึกษา

3.1) ผูเรียนรวมกันพิจารณาปญหาที่

ไดรับอยางละเอียด ทําความเขาใจคําศัพทและ

ขอความที่ปรากฏอยูในโจทยปญหาใหชัดเจน

เพื่อใหสมาชิกในกลุมเกิดความเขาใจที่ถูกตอง

สอดคลองกัน

3.2) ผูเรียนระดมความคิดเห็นจาก

สมาชิกทุกคนในกลุม เพื่อเช่ือมโยงแนวคิด

ของแตละคน ซึ่งอาศัยความรูเดิมเปนขอมูล

ในการสรางสมมติฐานโดยสรางสมมติฐานให

ไดมากที่ สุด จาก น้ันรวมกันคัดเลือกแต

สมมติฐานที่นาจะเปนไปได และคัดที่ไมนาจะ

ใชทิ้งไป

3.3) ผูเรียนรวมกันระบุประเด็นการ

เรียนรูที่ ตองทํ าการ ศึกษาคนคว าขอมู ล

เพิ่มเติมจากแหลงสารสนเทศตางๆ เพื่อใช

ตอบคําถามจากสมมติฐานที่คัดเลือกไว ซึ่งยัง

ไมสามารถตอบไดดวยความรูปจจุบันที่มีอยู

ภายในกลุม

Page 23: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

21

3.4) ผูเรียนรวมกันวางแผนงานเพื่อ

กําหนดกรอบหรือขอบเขตที่จะศึกษาแนว

ทางการแก ปญหา จากน้ันแบงหนาที่ความ

รับผิดชอบของสมาชิกภายในกลุมในการ

ดําเนินการคนควาขอมูล

ขั้นตอนท่ี 4) คนควาขอมูล

4.1) ผูเรียนแตละคนแยกยายกันไป

คนควาหาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับประเด็นการ

เรียนรูจากแหลงขอมูลภายในและภายนอกทั้ง

เอกสารวิชาการ ขาวสาร ภาพยนตร วีดิทัศน

หรือพูดคุยขอคําปรึกษาจากผูเช่ียวชาญดาน

ตางๆ รวมทั้งอาจทําการทดลอง สังเกต คํานวณ

โดยอาจแยกทํางานเปนรายบุคคล หรือไปเปน

กลุมตามที่ไดแบงหนาที่ความรับผิดชอบ

4.2) ผูเรียนทําการบันทึกขอมูลที่ได

จากการสืบคนเพื่อเตรียมสําหรับนําไปใชใน

การอภิปรายรวมกัน

4.3) ผูเรียนแตละคนรายงานความ

คืบหนาของหนาที่ที่ไดรับผิดชอบเพื่อรวมกัน

พิจารณาวาไดขอมูลที่ตองการครบถวนแลว

หรือไม หรือหากเจอปญหาอุปสรรคใดก็

สามารถชวยกันหาแนวทางแกไข

ขั้นตอนท่ี 5) เลือกแนวทางแกปญหา

5.1) ผูเรียนประชุมอภิปรายรวมกัน

ในกลุมเพื่อพิจารณาเลือกสมมติฐานที่นาจะ

ถูกตองที่สุดในการนําไปใชเปนแนวทางในการ

แกปญหา โดยใชขอมูลที่สมาชิกแตละคนไป

ศึกษาคนความาประกอบการตัดสินใจ หรือ

หากมีสมมติฐานที่นาจะถูกตองมากกวาหน่ึง ก็

ใหจัดเรียงลําดับความนาจะเปน

5.2) กลุมผูเรียนนําแนวทางที่เลือกไป

ต ร ว จ ส อ บ ห รื อ ท ด ล อ ง แ ก ป ญ ห า ใ น

หองปฏิบั ติการ หรือขอความคิดเห็นจาก

ผูเช่ียวชาญเพื่อพิจารณาความเปนไปไดของ

แนวทางการแกปญหาที่เลือก

5.3) กลุมผูเรียนพิจารณาผลจากการ

ตรวจส อบหรื อทดล อง ใช แนวท างกา ร

แกปญหาที่เลือก หากผลที่ออกมายังไมชัดเจน

ก็ทําการคนควาขอมูลเพิ่มเติมเพื่อปรับปรุง

ทางเลือกน้ันใหสมบูรณย่ิงข้ึนและนําไปทดลอง

Page 24: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

22

ใหมอีกครั้ง หรือหากมีแนวโนมที่จะแกปญหา

ไมไดก็ใหใชทางเลือกขอถัดไป

5.4) ผูเรียนรวมกันสรุปผลการเรียนรู

หลังจากไดขอมูลครบถวนในการพิสูจนขอ

สมมติฐานแลว จากน้ันวางแผนการเตรียม

ขอมูลและสื่อประกอบการนําเสนอ และ

รวมกันผลิตสื่อการนําเสนอ โดยอาจปรึกษา

ผู เ ช่ียวชาญเพื่อขอความคิดเห็นเกี่ ยวกับ

รูปแบบการนําเสนอที่วางแผนไว

6) นําเสนอผลงาน

6.1) ผูเรียนแตละกลุมนําเสนอผลการ

แกปญหาหนาช้ันเรียน โดยในรอบแรกทําการ

นําเสนอตอคณาจารย ใน

สาขาวิชาและผู เรียนกลุม

อื่นๆ เพื่ อประเมิ นความ

เหมาะสมในเบื้องตนและ

ปรับปรุงใหชัดเจนข้ึน

6.2 จากน้ันจึงเชิญบุคคลภายนอกที่

เกี่ยวของ เชน เกษตรกร ผูประกอบการ

นักวิชาการเกษตร เขามารวมฟงการนําเสนอ

6 . 2 ) ใ น ก า ร

นําเสนอแตละครั้ง ผูสอน

ควรสรางบรรยากาศการ

วิพากษวิจารณ ซักถาม

เสนอแนะความคิดเห็น

ระหวางผูที่นําเสนอและผูที่ เขารวมฟงการ

นําเสนอ และสรุปใหเห็นประโยชนที่ผูเรียนจะ

ไดรับ รวมทั้งแนวทางในการนําความรูน้ันไป

ใชในการแกปญหาในสถานการณอื่นๆ

6.3) ผูเรียนเผยแพรผลงานที่นําเสนอ

รวมทั้งหลักการ แนวคิดตางๆ ที่ไดจากการ

แกปญหา เพื่ อให เกิดแลกเปลี่ยนความรู

ระหวางผูเรียน

Page 25: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

23

จากผลการวิจัยพบวา นักศึกษาที่เรียนตามรูปแบบการเรียนที่ใชปญหาเปนหลักมีคะแนน

ความสามารถในการแกปญหาหลังเรียนสูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ

พบวานักศึกษามีความพึงพอใจตอรูปแบบการเรียนอยูในระดับมาก โดยเห็นวา กิจกรรมการเรียน

กระตุนใหนักศึกษาไดฝกคิดวิเคราะห มากกวาการทองจํา สงเสริมใหนักศึกษาสามารถบูรณาการ

ความรูและทักษะในดานตางๆ ไปใชในการแกปญหาทางการเกษตร รวมทั้งเช่ือมโยงไปสูการทํางานใน

อนาคต และสงเสริมใหนักศึกษาศึกษาคนควาและแสวงหาความรูดวยตนเอง นอกจากน้ีผลการสังเกต

พฤติกรรมการเรียนยังพบวา นักศึกษาต้ังใจและกระตือรือรนมากข้ึนเพราะเปนรูปแบบการสอนใหมที่

ตางจากการเรียนแบบบรรยายโดยทั่วไป

ตัวอยางท่ี 2

การเรียนแบบโครงงานรวมกับเคร่ืองมือทางปญญา

การจัดการเรียนแบบโครงงาน (Project Based Learning) เปนกระบวนการแสวงหาความรู

หรือการคนควาหาคําตอบในสิ่งที่ผูเรียนอยากรูหรือสงสัยดวยวิธีการตางๆ คลายกับกระบวนการของ

Problem-based Learning โดยอาจนําปญหามาเปนจุดเริ่มตนแตใหโอกาสผูเรียนไดวางโครงการ

แกปญหาข้ึนมาเองและดําเนินการใหสําเร็จตามความมุงหมายของโครงการน้ัน อาจเปนโครงการที่

จัดทําเปนกลุมหรือคนเดียวก็ได โดยมีสวนรวมในการปฏิบัติงานดวยตนเองจนไดช้ินงานที่สามารถนํา

ผลการศึกษาไปใชไดในชีวิตจริง ในที่น้ีจะขอยกตัวอยางสถานการณที่ใชการเรียนแบบโครงงานรวมกับ

การสนับสนุนใหผูเรียนนําโปรแกรมคอมพิวเตอรมาใชในลักษณะเครื่องมือทางปญญาเพื่อชวย

สนับสนุนกระบวนการคิดของผูเรียน

พีทเปนนักศึกษาในมหาวิทยาลัยแหง

หน่ึง เขาไดรับมอบหมายจากอาจารยผูสอน

วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศใหคิดคนโครงงานที่

แสดงให เห็น ถึงรูปแบบการนําโปรแกรม

คอมพิวเตอรที่ไดเรียน รวมทั้งเว็บไซต และ

เทคโนโลยีสารสนเทศอื่นๆ ไปประยุกตใช

ประโยชนในชีวิตประจําวันหรือเหตุการณจริง

พีทเปนผูที่สนใจเรื่องของการทองเที่ยวและใน

ภาคเรียนน้ีเขาไดลงทะเบียนเรียนวิชาทางดาน

ภูมิศาสตรโลก ดังน้ันเขาจึงนํารายวิชาทั้งสอง

มาบูรณาการรวมกัน โดยออกแบบเปน

โครงงานเดินทางทองเที่ยวรอบโลกเสมือน

(Virtual Travel) จากเมืองที่เขาอยูอาศัยไป

ทางภาคตะวันออกผานประเทศตางๆ และวน

กลับมาทางทิศตะวันตกในระยะเวลา 2 เดือน

กอนปดภาคเรียน ซึ่งเมื่อเขานําแผนงานน้ีไป

Page 26: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

24

ปรึกษากับอาจารยผูสอนทั้ง 2 วิชา ก็ไดรับ

คําแนะนําเกี่ยวกับแนวทางการใชเครื่องมือ

ตางๆ ในการปฏิบัติงานและขอมูลตางๆ ที่

จําเปนจะตองศึกษา

พีทเริ่มการทําโครงงานโดยการสราง

กรอบแนวคิดที่ เกี่ยวของตอการวางแผน

เส นท า งของ เ ขาด วยกา ร ใช โป ร แก ร ม

CmapTools (เปนโปรแกรมที่ชวยในการสราง

แผนภาพหรือผังความคิด) เพื่อใหเห็นภาพรวม

ของขอมูลด านตางๆ ที่ เขาจะตองคนหา

รวมทั้งความเช่ือมโยงระหวางปจจัยตางๆ ที่

สงผลตอการออกแบบเสนทาง จากน้ันเขาใช

ความรูจากวิชาภูมิศาสตรโลกมาลองกําหนด

เสนทางเดินทางโดยใชโปรแกรม CmapTools

สรางแผนผังการเดินทางฉบับรางออกมา ซึ่ง

ประกอบดวยเสนทางผานประเทศตางๆ ที่เขา

คิดวานาจะเปนไปไดในการเดินทางจริง

ในก า ร กํ าห นดจุ ดท อ ง เ ที่ ย ว ใน

ประเทศที่เสนทางผาน พีทใชวิธีการสืบคนผาน

Search Engine ที่ เขาคุนเคยไมวาจะเปน

Google, Yahoo หรือ MSN เพื่อคนหาแหลง

ทองเที่ยวที่นาสนใจ รวมทั้งจากเว็บไซตอื่นๆ

เชน เว็บไซตแนะนําการทองเที่ยวของแตละ

ประเทศเพื่อใหไดขอมูลที่มากข้ึน นอกจากน้ี

เขายังศึกษาขอมูลเกี่ยวกับสถิติและคะแนน

โหวตเกี่ยวกับสถานที่ที่เขาสนใจ หลังจากได

จุดทองเที่ยวตามเสนทางแลว พีทใชโปรแกรม

Microsoft Excel ทําการคํานวณความเปนไป

ไดในการเดินทาง เชน การคํานวณระยะทางที่

เปนไปไดในแตละวัน การคํานวณคาใชจายใน

การเดินทาง คาอาหาร คาที่พัก จากน้ันจึงทํา

การปรับลดหรือเพิ่มโปรแกรมการเดินทางใน

แ ต ล ะ วั น ใ ห ล ง ตั ว กั บ ร ะ ย ะ เ ว ล า แ ล ะ

งบประมาณที่ต้ังไว และทําการสรางแผนภูมิ

และกราฟสรุปรายละเอียดคาใชจายรายวัน

รายสัปดาห และรายเดือน นอกจากน้ี พีทยัง

ไดจัดทําฐานขอมูลดวยโปรแกรม Microsoft

Access เกี่ยวกับสถานที่ที่เขาจะหยุดพัก

ไดแก ที่อยูและเบอรติดตอของที่พัก รวมทั้ง

หนวยงานที่เกี่ยวของ เชน ตํารวจทองเที่ยว

สถานฑูต เพื่อใหสะดวกตอการนําขอมูลมาใช

งานในภายหลัง

พีทนําแผนที่วางไวไปขอคําปรึกษา

จากอาจารยผูสอน อาจารยไดต้ังคําถามพีทวา

รูไดอยางไรวาแผนที่วางไวไมผิดพลาด ซึ่ง

อาจารยไดแนะนําแนวทางในการตรวจสอบ

ความเหมาะสมของแผนที่วางไว โดยใหพีทล

องสอบถามความคิดเห็นจากผูเช่ียวชาญหรือผู

Page 27: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

25

ที่มีประสบการณ ดังน้ันเขาจึงทําการคนหา

รายช่ือนักทองเที่ยวที่ เคยเดินทางรอบโลก

มาแลวจากเว็บทองเที่ยวและทําการติดตอ

บุ ค ค ล เ ห ล า น้ั น ผ า น ร ะ บ บ สื่ อ ส า ร ใ น

อิน เทอร เ น็ต ไม ว าจะเปน E-mail หรื อ

Webboard เพื่อสอบถามความคิดเห็นและ

ประเมินความเหมาะสมของแผนการเดินทาง

ในการติดตอครั้งน้ีเขาไดรับคําแนะนําที่สําคัญ

ซึ่งเขามองขามไปน่ันคือ การวางแผนการ

เดินทางที่ดีตองมีการศึกษาสภาพภูมิอากาศ

หรือขาวเกี่ยวกับภัยธรรมชาติของสถานที่ที่เรา

จะไปในชวงน้ีใหดี ซึ่งเมื่อพีทไดเขาไปสืบคน

จากขาวพยากรณอากาศก็พบวามีบางจุดใน

ทวีปอัฟริกาเหนือมีการแจงเตือนเรื่องพายุ ทํา

ใหเขาตองรีบเขาโปรแกรม CmapTools เพื่อ

ปรับเปลี่ยนเสนทางการเดินทางในแผนผัง

หลังจากที่ทุกอยางลงตัว พีทก็เริ่มตน

ทองเที่ยวเสมือนจริงรอบโลกตามแผนที่วางไว

โดยเขาไดเขาไปยังเว็บไซตที่ เกี่ยวของกับ

สถานที่ตางๆ ตามเสนทางและกําหนดเวลา

ของแผนการเดินทาง ไมวาจะเปนพิพิธภัณฑ

หอศิลป หรือหนวยงานอื่นซึ่งใหขอมูลความรู

เกี่ยวกับสถานที่ที่เดินทางไป รวมทั้งการคนหา

ภาพถายสถานที่ น้ันๆ และบางครั้งก็มีการ

พูดคุยกับผู คนที่ อ ยู ในภูมิภาคน้ันๆ ผ าน

Skype ซึ่งในการทองเที่ยวแตละสถานที่ พีท

ไดทําการบันทึกสิ่งที่พบเห็นลงไปใน Blog

ของเขา ในวันสรุปผลการดําเนินโครงงาน พีท

นําเสนอแผนการเดินทาง และรายละเอียด

ของสถานที่แตละที่ที่ เขาไปผานโปรแกรม

Microsoft PowerPoint ที่บรรจุขอมูลทั้ง

ภาพน่ิง เสียง และภาพเคลื่อนไหว ซึ่งเหมือน

เขาไดไป ยังสถานที่ น้ันๆ จริ ง ทํ าใหการ

นําเสนอของเขานาสนใจและไดรับเสียงช่ืนชม

จากเพื่อนๆ และอาจารยผูสอนทั้ง 2 วิชาที่เขา

มาชมและใหขอเสนอแนะ

สถานการณดังกลาว ผูสอนไดสราง

สภาพแวดลอมการเรียนการสอนที่เนนผูเรียน

เปนสําคัญโดยใชประโยชนจากโปรแกรม

คอมพิวเตอรเปนเครื่องมือทางปญญา โดย

ผู เ รี ย น ทํ า ห น า ที่ เ ส มื อ น นั ก อ อ ก แ บ บ

(Designer) ที่ใชโปรแกรมคอมพิวเตอรเปน

เครื่องมือสําหรับการวิเคราะห เขาถึงและแปล

ความขอมูล จัดโครงสรางความรูของตน

ร ว ม ทั้ ง ส ร า ง ตั ว แ ท น สิ่ ง ที่ รู สู ผู อื่ น ซึ่ ง

ประกอบดวยโปรแกรม CmapTools สําหรับ

สรางกรอบแนวคิดและแผนในการจัดทํา

โครงงาน โปรแกรม Search Engine และ

ฐานขอมูลของเ ว็บไซตเพื่อสืบคนขอมูลที่

ตองการ โปรแกรม Microsoft Excel เปน

สําหรับนํามาใชในการวิเคราะห เช่ือมตอและ

จัดการขอมูลที่หามาได และโปรแกรม

Microsoft PowerPoint ที่ เ ข า ไปช ว ย

ถายทอดผลงานที่ เปนตัวแทนความรูของ

Page 28: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

26

ผูเรียน โปรแกรมคอมพิวเตอรเหลาน้ีถูก

นํามาใชเปนเครื่องมือทางการคิดระดับสูงที่

ผูสอนใชในการขยายกระบวนการคิดและการ

แกปญหาของผูเรียนในช้ันเรียน ชวยใหผูเรียน

สามารถเอาชนะขอจํากัดบางอยางของพวก

เขา เชน ความจํา การประมวลสารสนเทศ

หรือการแกปญหาซึ่งทําใหผูเรียนเกิดความรู

ค ว าม เ ข า ใ จ ในคว าม คิด ร วบ ย อดขอ ง

เน้ือหาวิชาและสามารถประยุกตใชความรูใน

สถานการณจริงไดตามเปาหมายของรายวิชา

ตัวอยางท่ี 3

การใชเทคนิคหมวก 6 ใบ

เทคนิคหมวก 6 ใบ (Six Thinking Hats) เปนเทคนิคการสอนแบบต้ังคําถามเพื่อพัฒนาการ

คิดสําหรับผูเรียนทุกระดับช้ัน โดย Edward de bono ซึ่งเปนวิธีที่ชวยใหการคิดเปนกลุมมี

ประสิทธิภาพมากข้ึน โดยหลักการคือ เปนการจัดความคิดของทุกคนในกลุมใหคิดไปในแนวทาง

เดียวกันในเวลาเดียวกันเพื่อปองกันการขัดแยงทางความคิดซึ่งกันและกัน และลดทิฐิในความคิดของ

ตนเอง จากน้ันคอยสั่งใหเปลี่ยนแนวคิดไปอีกแนวหน่ึงพรอมๆกัน โดยควรที่จะวนจนคิดครบทุก

มุมมองเพื่อใหไดพิจารณาในทุกแงมุม หมวกแตละสจีะมีมุมมองความคิดที่แตกตางกัน ดังน้ี

หมวกขาว ไดแก ความเปนกลาง

มีลักษณะของความวางเปลา เกี่ยวของกับ

ขอเท็จจริง และจํานวนตัวเลข เมื่อมีการ

สวมหมวกน้ีจึงหมายถึง

ตองการไดขอมูลที่ เปน

ขอเท็จจริ ง ไมใสความ

คิ ด เ ห็ น ส ว น ตั ว ล ง ไ ป

อาจจะคิดวาตอนน้ียังขาดขอมูลอะไรอยูก็ได

หมวกแดง ไดแก อารมณ ความรูสึก

สัญชาตญาณ โกรธ ฉุนเฉียว เมื่อมีการสวม

หมวกน้ีจึงหมายถึง สามารถบอกความรูสึก

ข อ ง ต น เ อ ง เ กี่ ย ว กั บ

ประเด็นน้ันได เปนการ

คิดทียึ่ดอารมณเปนหลัก

หมวกดํา ไดแก ก าร คิดอยา ง

ระมัดระวัง คือคิดในแงรายไวกอน เปน

หมวกที่มีประโยชนในการที่จะชวยใหเห็น

ความเสี่ยงหรือผลเสียที่

อาจจะเกิดข้ึนได เมื่อมี

การสวมหมวก หมายถึง

ตองการใหพูดถึงจุดดอย

ขอผิ ดพลาด สิ่ งที่ ไม ดี โ ดยใช เห ตุผล

ประกอบ

หมวกเหลือง ไดแก การคิดบวก

ซึ่งจะชวยใหเราเห็นประโยชนทั้งหมดที่

อาจจะเกิดข้ึนจากไอเดียที่

คิดออกมาได เมื่อมีการ

สวมหมวก จึ งเปนการ

แสดงความ คิด เห็น ใน

Page 29: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

27

ทางดานดี คิดถึงประโยชน คุณคา จุดเดน

ความคิดใหมๆ ที่ ดีมี คุณคาตอสวนรวม

สังคม

หมวกเขียว ไดแก การสรางสรรค

ความคิดนอกกรอบที่มีความสัมพันธกับ

ความคิดริเริ่มสรางสรรค เมื่อมีการสวม

หมวก จึงหมายถึง การ

คิดอยางสรางสรรค คิดให

มีทางเลือกที่หลากหลาย

คิดแปลกใหม กาวไปขางหนา สรางความ

เปนไปไดเพื่อการปรับปรุงและพัฒนา

หมวกฟา ไดแก ภาพรวม การ

ควบคุม เปนหมวกที่ ใช ในการควบคุม

ภาพรวมในการคิดทั้งหมด

มักใหหัวหนากลุมใส เพื่อ

ควบคุมวาตอนน้ีทุกคนใน

ทีมควรใชหมวกอะไรคิด

และตอไปจะใชหมวกอะไรตอดี

เน่ืองจากหมวกความคิดมีจํานวนถึง 6 ใบ แตละสีใชแทนวิธีคิดแตละแบบ เมื่อนําไปใช

อาจจะมีปญหาจะเริ่มใชหมวกสีไหนกอน ตอไปจะใชสีอะไรและตองใชหมวกทั้ง 6 ใบ ในลักษณะใด

ดังน้ันจะเสนอแนะวิธีการใชหมวกความคิดในข้ันพื้นฐานดังน้ี

1. ใชหมวกทีละใบสําหรับความคิดแตละครั้ง คือ เลือกใชหมวกใบใดใบหน่ึงแลวทุกคนใน

กลุมจะตองสวมหมวกใบเดียวกันหมด หมายความวา ในขณะน้ันทุกคนคิดในทิศทางเดียวกันตามหัว

เรื่องที่กําหนด โดยไมคํานึงถึงสิ่งที่คนกอนหนาพูดไว

2. เลือกใชหมวกที่เหมาะกับลักษณะงาน ได 2 วิธี คือ

2.1 ใชหมวกลักษณะเดียว เปนการกําหนดใหใชวิธีคิดแบบใดแบบหน่ึงในทิศทาง

เดียวทีละครั้ง

2.2 ใชหมวกลักษณะเปนชุด เปนการใชหมวกหลายใบตอเน่ืองกันเปนชุด โดยชุด

ของหมวกอาจกําหนดไวลวงหนา

3. บุคคลแตละคนสมารถใชความคิดไดกับหมวกทุกใบ ควรมีการทบทวนความหมายของสี

บอย ๆ

4. การจัดกิจกรรม ควรใหบรรยากาศของความสนุกสนานและมีชีวิตชีวา

5. การฝกใหมองทั้งทางบวกและทางลบ (หมวกสีเหลืองและหมวกสีดํา)

การจัดกิจกรรมฝกการคิด โดยใชหมวก 6 ใบ สําหรับผูเรียนที่ยังไมเคยผานกิจกรรมน้ีควรจัด

2 รอบ เพื่อใหสมาชิกไดเห็นขอเปรียบเทียบและไดขอคิดจากกิจกรรมชัดเจนย่ิงข้ึน

รอบแรก

1. แบงสมาชิกออกเปนกลุมๆ ละ 8-12 คน อาจจะได 2-4 กลุม

2. กําหนดใหมีกลุมอภิปรายและกลุมสังเกตการณ

Page 30: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

28

3. ผูสอนกําหนดหัวขอสําหรับอภิปรายใหกลุมอภิปรายและมอบหมายงานใหสมาชิกกลุม

สังเกตการณแตละคน ๆ ละคนหน่ึงมีหนาที่จดบันทึกคําพูด ขอคิดเห็น ของสมาชิกกลุมอภิปรายทุก

คน แตเลือกจดเฉพาะในสวนที่เกี่ยวของกับสีหมวกของตนเองที่ไดรับ

4. สมาชิกกลุมอภิปรายดํานเนินการอภิปรายตามหัวขอที่ผูสอนกําหนด ประมาณ 15-20

นาที สมาชิกสังเกตการณ จดบันทึกขอความ คําพูดของสมาชิกกลุม

5. ผูสอนใหสมาชิกสังเกตการณแตละคนนําเสนอผลการสังเกต

6. ผูสอนและผูเรียนรวมกันอภิปรายในประเด็นตอไปน้ี

6.1 สมาชิกสังเกตการณแตละคนจดบันทึกการอภิปรายของสมาชิกกลุมไดครบถวน

สอดคลองกับสีหมวกที่ไดรับหรือไม

6.2 กลุมอภิปรายไดอภิปรายครบทุกประเด็นตามสีหมวกหรือไม หมวกสีใดอภิปรายนอย

6.3 บรรยากาศเปนอยางไร มีขอดีขอปรับปรุงอยางไร

6.4 ผูสอนเสนอแนะเกี่ยวกับบรรยากาศ บทบาทของสมาชิกและผูนํา

รอบสอง

1. ใหสมาชิกกลุมอภิปรายและกลุมสังเกตการณสลับบทบาทหนาที่

2. ผูสอนกําหนดหัวขอสําหรับการอภิปราย ควรเปนหัวขอใหมและมอบหมายงานใหสมาชิก

กลุมสังเกตการณ

3. สมาชิกอภิปรายดําเนินการอภิปรายตามหัวขอ ประมาณ 15-20 นาที และสมาชิก

สังเกตการณจดบันทึก

4. ผูสอนใหสมาชิกกลุมสังเกตการณแตละคนนําเสนอ

ประเด็นการอภิปราย

1. ขอแตกตางของบรรยากาศการอภิปรายกลุมระหวางรอบแรกกับรอบสอง มีหรือไมมีและ

เปนอยางไร

2. ขอแตกตางและผลสรุปการอภิปรายระหวางรอบแรกกับรอบ 2 มีหรือไมมีและเปนอยางไร

3. ขอดี ขอเสีย ขอคิด หรือประโยชนที่ไดรับจากกิจกรรมน้ีมีอะไรบาง และที่ควรนําไป

ปรับปรุงแกไขคืออะไร

การใชเทคนิคหมวก 6 ใบ คิด 6 แบบ ทําใหผูเรียนไดรับความรูและทดลองฝกปฏิบัติวิธีการ

คิดที่หลากหลาย ทําใหผูเรียนทราบวาเรื่องใดเรื่องหน่ึงหรือสถานการณใดสถานการณหน่ึง สามารถมี

วิธีการคิดหรือมุมมองในเรื่องเดียวกันน้ันไดหลายแบบ แลวแตวาจะคิดโดยใชหมวกสีใด ซึ่งการคิดโดย

ใชหมวกสีตางๆ ลวนมีประโยชนทั้งสิ้น แลวแตความเหมาะสมและการนําไปใชประโยชน

------------------------------------------------------------------------

Page 31: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

29

รายการอางอิง

ชัยวัฒน สุทธิรัตน. 2553. 80 นวัตกรรมการจัดการเรียนรูท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ. พิมพครั้งที่

3. กรุงเทพฯ : แดเน็กซ อินเตอรคอรปอเรชัน.

ณัฐกร สงคราม. 2552. บทบาทของคอมพิวเตอร จากเครื่องมือชวยสอนสูเครื่องมือทาง

ปญญา (Computer Roles: from Teaching Tools to Cognitive Tools).

[ออนไลน] แหลงที่มา:

http://www.kmitl.ac.th/agritech/nutthakorn/article/cognitive tools.pdf

ดวงกมล สินเพ็ง. 2553. การพัฒนาผูเรียนสูสังคมแหงการเรียนรู :การจัดการเรียนการสอนท่ี

เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย.

ทิศนา แขมมณี. 2550. ศาสตรการสอน องคความรูเพ่ือการจัดกระบวนการเรียนรูท่ีมี

ประสิทธิภาพ. พิมพครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

อาภรณ ใจเที่ยง. 2554. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ. วารสารครุ

สาร. คณะครุศาสตร สถาบันราชภัฏนครปฐม ปที่ 3 ฉบับที่ 4.

Page 32: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

30

บทความวิชาการ

การวิจัยในช้ันเรียน..ทําอยางไร

การวิจัยในชั้นเรียนคืออะไร

การวิจัยในช้ันเรียน (Classroom Research) คือ กระบวนการหาความรูหรือวิธีการใหมๆ

รวมทั้งการประดิษฐคิดคนสิ่งใหมๆ ที่อาจารยผูสอนนํามาใชในการเรียนการสอนเพื่อแกปญหาที่เกิด

จากการเรียนการสอนในช้ันเรียนของตนเอง หรือเพื่อพัฒนาการเรียนรูของผูเรียน โดยเปาหมาย

สําคัญเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของตนเอง เปนการวิจัยเชิงปฏิบั ติการ (Action

Research) ซึ่งทําวิจัยควบคูไปกับการปฏิบัติงานจริง โดยอาจารยผูสอนเปนทั้งผูผลิตงานวิจัยและ

ผูบริโภคผลการวิจัย หรือกลาวอีกนัยหน่ึงก็คืออาจารยผูสอนเปนนักวิจัยในช้ันเรียนของตนเอง โดย

จะต้ังคําถามในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแลววางแผนการปฏิบัติงานและการวิจัย หลังจาก

น้ันอาจารยผูสอนจะดําเนินการจัดการเรียนการสอนไปพรอมๆ กับจัดเก็บขอมูลตามระบบขอมูลที่ได

วางแผนการวิจัยไว นําขอมูลที่ไดมาวิเคราะหเพื่อสรุปผลการวิจัยและนําไปพัฒนาการจัดการเรียน

การสอนใหมีคุณภาพย่ิงข้ึนตอไป โดยทั่วไปแลวประชากรเปาหมายของการวิจัยในช้ันเรียนจะถูกจํากัด

เปนกลุมผูเรียนในความรับผิดชอบของอาจารยผูสอนเทาน้ัน และขอความรูที่ไดมักจะมีความเฉพาะ

คือจะเกี่ยวกับสภาพปญหาและผลการพัฒนาผูเรียนในช้ันเรียนของอาจารยผูสอนเปนสําคัญ

ความสําคัญของการวิจัยในชั้นเรียน

เปนที่คาดหวังวา เมื่ออาจารยผูสอน

ไดทําการวิจัยในช้ันเรียนควบคูไปกับการ

ปฏิบั ติ ง านสอนอย าง เหมาะสมแล วจะ

กอใหเกิดผลดีตอวงการศึกษา และวิชาชีพครู

อยางนอย 3 ประการ คือ (1) ผูเรียนจะมีการ

เรียนรูที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพย่ิงข้ึน (2)

วงวิชาการการศึกษาจะมีขอความรูและ/หรือ

นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนที่เปนจริง

เกิดมากข้ึนอันจะเปนประโยชนตอครู-อาจารย

และเพื่อนรวมวิชาชีพในการพัฒนาการจัดการ

เรียนการสอนเปนอยางมาก และ (3) วิถีชีวิต

ของคร-ูอาจารย หรือวัฒนธรรมการทํางานจะ

พัฒนาสูความเปนครูมืออาชีพ(Professional

Teacher) มากย่ิงข้ึนทั้งน้ีเพราะครู-อาจารย

นักวิจัยจะมีคุณสมบัติของการเปนผูแสวงหา

ความรูอยางตอเน่ืองและมีชีวิตชีวา จนในที่สุด

ก็จะเปนผูที่มีความรูความเขาใจที่กวางขวาง

และลึกซึ้งในศาสตรและศิลปแหงการสอนเปน

ครูที่มีวิทยายุทธแกรงกลาในการสอนสามารถ

ที่จะสอนผูเรียนใหพัฒนากาวหนาในดานตางๆ

ในหลายบริบทหรือที่เรียกวาเปน “ครูผูรอบรู

หรือครูปรมาจารย (Master Teacher)” ซึ่ง

ถามีปริมาณครู-อาจารยนักวิจัยดังกลาวมาก

ข้ึนจะชวยใหการพัฒนาวิชาชีพครูเปนไปอยาง

สรางสรรคและมั่นคง

Page 33: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

31

ลักษณะของการวิจัยในชั้นเรียน

การวิจัยในช้ันเรียนมีลักษณะสําคัญดังตอไปน้ี

1. อาจารยผูสอนเปนผูวิจัยเอง เพื่อเพิ่มพูนความรูใหแกวงการวิชาชีพดานการสอน

2. ผลการวิจัยสามารถแกปญหาผูเรียนไดทันเวลา และตรงจุด

3. การวิจัยชวยเช่ือมชองวางระหวางทฤษฏีและการปฏิบัติ

4. การเพิ่มศักยภาพการคิดสะทอน (Reflective Thinking) ของอาจารยผูสอนตอปญหาที่

เกิดในหองเรียน

5. การเพิ่มพลังความเปนอาจารยผูสอนในวงการการศึกษา

6. การเปดโอกาสใหอาจารยผูสอนกาวหนาทางวิชาการ

7. การพัฒนา และทดสอบการแกปญหาในช้ันเรียน

8. การเปดโอกาสใหผูเรียนแสดงความคิดเรื่องการเรียนการสอน และทางแกปญหา

9. การนําเสนอขอคนพบและการรับฟงขอเสนอแนะจากกลุมอาจารยผูสอน

10. การวิจัยและพัฒนาเปนวงจร (Cycle) เพื่อทําใหขอคนพบสมบูรณข้ึน

ตารางเปรียบเทียบความแตกตางระหวางการวิจัยในช้ันเรียนกับการวิจัยดานการศึกษาอื่น ๆ

รายการ การวิจัย

ในช้ันเรียน ในสถานศึกษา การเรียนการสอน การศึกษา

เปนการวิจัยหรือไม เปน เปน เปน เปน

ใครทํา ครู-อาจารยประจํา ศึกษานิเทศก

ผูบริหารโรงเรียน

ครู-อาจารยทีมี่เวลา

และผูเชี่ยวชาญ

นักวิจัยการศึกษา

นักการศึกษา

ทําอะไร แกปญหาผูเรียนบาง

คน บางเรื่อง

แกปญหาครู-

อาจารยบางคน บาง

เรื่อง

แกปญหาผูเรียนทั้ง

หอง หาองคความรู

แกปญหาระดับใหญ

หาขอมูลเชิง

นโยบาย

เริ่มที่ไหนและ

อยางไร

สังเกตเห็นผูเรียน

บางคนมีอาการ

ผิดปกติ

สังเกตครู-อาจารย

บางคนมีอาการ

ผิดปกติ

ทบทวนงานวิจัย

และระบุปญหาวิจัย

ทบทวนงานวิจัย

หรือผลการศึกษา

เก่ียวกับการศึกษา

ของประเทศ

ทําที่ไหน ใน/นอกหองเรียน ใน/นอกโรงเรียน ใน/นอกหองเรียน/

โรงเรียน

ใน/นอกโรงเรียน

ทําเพื่ออะไร แกปญหาผูเรียนบาง

คน บางเรื่อง

แกปญหาครู-

อาจารยบางคน บาง

เรื่อง

ทดลองแนวคิด

ใหมๆ หาองค

ความรู

ทดลอง/แกปญหา

ระดับใหญ หา

คําตอบใหม กําหนด

นโยบายใหม

Page 34: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

32

รายการ การวิจัย

ในช้ันเรียน ในสถานศึกษา การเรียนการสอน การศึกษา

การออกแบบการ

วิจัย

ไมเปนทางการ ไมเปนทางการ เปนทางการ เปนทางการ

เครื่องมือวิจัย ไมจําเปนตองมี

ครู-อาจารย คือ

เครื่องมือวิจัย

ไมจําเปนตองมี

ศึกษานิเทศก

ผูบริหาร คือ

เครื่องมือวิจัย

ตองมีและเชื่อถือได ตองมีและเชื่อถือได

การระบุประชากร

กลุมตัวอยาง

ไมจําเปน ไมจําเปน ตองระบุ ตองระบุ

การสุมตัวอยาง ไมจําเปน ไมจําเปน ตองสุม ตองสุม

การเก็บขอมูล ระยะส้ัน ระยะส้ัน ระยะยาว ระยะยาว

การวิเคราะหขอมูล วิเคราะหเน้ือหา วิเคราะหเน้ือหา สถิติและทดสอบ

นัยสําคัญ

สถิติและทดสอบ

นัยสําคัญ

เวลาใชทําวิจัย ระยะส้ัน ระยะส้ัน ระยะยาว ระยะยาว

ความยาวของรายงาน 2 – 3 หนา 2 – 3 หนา 5 บท มากกวา 5 บท

ทําเม่ือไร ทําไปสอนไปพรอม

กัน

ทําไปนิเทศ/บริหาร

ไปพรอมกัน

เวลาวาง (จากการ

สอน)

ตองมีเวลาวาง

เสียคาใชจาย ไมจําเปน ไมจําเปน ตอง ตอง

อนาคตของผูทํา ครู-อาจารยมือ

อาชีพ

ศึกษานิเทศก

ผูบริหารมืออาชีพ

นักวิจัยการศึกษา นักวิจัยการศึกษา

ทําเพื่อใคร ผูเรียน ครู-อาจารย ตัวเอง ตัวเอง/แวดวง

วิชาชีพ

จํานวนเรื่อง/ป มากกวา 100 เรื่อง มากกวา 50 เรื่อง 1 เรื่อง ½ - 1 เรื่อง

ผลงานเอาไปทํา

อะไร

พัฒนาความเปน

ครู-อาจารย

พัฒนาความเปน

ศึกษานิเทศก/

ผูบริหาร

ผลงานเพื่อเล่ือน

ขั้น/ตําแหนง

ตอบปญหาของ

ประเทศ/ผลงานขอ

ตําแหนง

ขอบเขตที่ทํา ในหอง ในโรงเรียน ใน-นอกหอง หลายๆหอง

หลายๆโรงเรียน

เงื่อนไข ตองการเปนครู-

อาจารยที่ดี เตรียม

สอนอยางดี

ตองการเนน

ศึกษานิเทศก/

ผูบริหารที่ดี

ตองการหาองค

ความรูเพิ่ม

ตองการหาคําตอบ

ใหม

ตัวอยางงานวิจัย การแกปญหาผูเรียน

5 คน ป.3 ออก

เสียง ร ล ไมชัด

การแกปญหาคร-ู

อาจารย 1 คน สอน

ไมเปน

ผลการใชเทคนิค

ใหมในการสอน

วิทยาศาสตร

ผลการปฏิรูป

การศึกษา

Page 35: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

33

รูปแบบของการวิจัยท่ีเหมาะในการนําไปวิจัยในชั้นเรียน

1. การวิจัยเชิงสํารวจ เชน การสํารวจพฤติกรรมการเรียนของผูเรียน การสํารวจความ

ตองการในการเรียน การสํารวจความคิดเห็นของผูเรียนที่มีตอการเรียน การสํารวจปญหาที่พบในการ

เรียน การสํารวจขอมูลพื้นฐานของผูเรียน เปนตน

2. การวิจัยหาความสัมพันธ เชน ผูเรียนกลุมที่เรียนเกงกับกลุมเรียนออนมีความสัมพันธกับ

รูปแบบการรับเขาศึกษาหรือไม ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาเฉพาะมีความสัมพันธกับวิชาการศึกษา

ทั่วไปหรือไม พฤติกรรมการเขาช้ันเรียนมีความสัมพันธกับวันและเวลาเรียนหรือไม เปนตน

3. การวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบ ซึ่งจะแบงกลุมทดลองเปนกลุมๆ แลวเปรียบเทียบวากลุม

ใดไดผลดีกวากัน เชน การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิระหวางการสอนแบบแสดงบทบาทสมมติกับการ

สอนแบบบรรยาย การเปรียบเทียบความพึงพอใจระหวางการสอนแบบบรรยายกับการสอนแบบ

สืบเสาะ การเปรียบเทียบพฤติกรรมดานเวลาเรียนระหวางวิธีการเรียกช่ือกับการทดสอบยอยโดยไม

แจงลวงหนา เปนตน

4. การวิจัยเชิงทดลองและพัฒนา วิธีน้ีใชผูเรียนกลุมเดียวไมจําเปนตองเปรียบเทียบวิธีสอน

แบบด้ังเดิมกับวิธีสอนใหม แตนําวิธีสอนแบบใหมมาใชไดเลย หรือพัฒนาสื่ออุปกรณมาใชสอนหรือ

จัดทําแผนการสอนใหดีแลวนําไปสอนผูเรียน จะสอน 1 หอง หรือมากกวาน้ันก็ได สถิติที่ใชไม

จําเปนตองใช T -Test หรือ F - test อาจใชเพียงคาเฉลี่ย คารอยละ และคาเบี่ยงเบนมาตรฐานก็

พอแลวโดยอาจจะมีการทดสอบกอนเรียน - หลังเรียน ซึ่งรูปแบบที่ 4 น้ี กรมวิชาการ

กระทรวงศึกษาธิการ เสนอแนะวาการวิจัยในช้ันเรียนที่นาทํา เพราะเหมาะกับการเรียนการสอนมาก

ที่สุด

กระบวนการทําวิจัยในชั้นเรียน

1. การวิเคราะหปญหาการเรียนการสอน

เปนการวิเคราะหปญหาที่พบในการเรียนการสอน ซึ่งปญหาสวนใหญเกิดจากความ

แตกตางระหวางสิ่งที่อาจารยผูสอนคาดหวังกับสิ่งที่เปนจริง โดยทั่วไปจําแนกออกเปนปญหาทางดาน

พฤติกรรมในช้ันเรียน เชน การมาสาย การคุยกันในช้ันเรียนโดยไมสนใจผูสอน ออกจากหองกอนหมด

เวลา ไมรับผิดชอบตองานที่มอบหมาย เปนตน และปญหาดานคุณภาพของผูเรียน เชน ไมสามารถ

ตอบคําถามได ขาดทักษะการคิดวิเคราะห การแกปญหา การอภิปราย หรือผูเรียนสวนใหญสอบไม

ผานเกณฑที่ต้ังไว เปนตน

2. ระบุสาเหตุและแนวทางการแกปญหา

โดยการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี งานวิจัยที่เกี่ยวของ และวิเคราะหหาสาเหตุแหงปญหา เพื่อ

ใชเปนแนวทางในการแกปญหา ซึ่งโดยทั่วไปมีสาเหตุมาจากปจจัย 3 ดาน คือ

Page 36: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

34

- บุคคล (ความรู ความสามารถ ความเช่ือ การแสดง)

- วิธีการ (การดําเนินงาน วางแผนและออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน)

- สภาพแวดลอม (บรรยากาศ ทรัพยากร สภาพเศรษฐกิจและสังคม)

นอกจากน้ี ยังสามารถจําแนกออกเปน 2 ประเภท คือ

- ปญหาที่เกิดจากอาจารยผูสอน ซึ่งเปนปญหาที่เกิดจากการจัดกิจกรรมการเรียน

การสอน/สื่อ/นวัตกรรมที่ไมเหมาะสมกับผูเรียน

- ปญหาที่มีผลกระทบที่ตัวเด็ก ซึ่งเปนปญหาที่เกิดจากสังคม สิ่งแวดลอม

ครอบครัว ทําใหผูเรียนมีพฤติกรรม/บุคลิกภาพที่ไมพึงประสงค

3. การพัฒนาวิธีแกไขหรือนวัตกรรมทางการเรียนการสอน

หลังจากทราบสาเหตุของปญหาแลว จึงทําการระบุวิธีแกไขปญหา ซึ่งอาจเปนการใช

รูปแบบหรือเทคนิควิธีการสอนแบบตางๆ ที่เหมาะสมตอปญหาน้ันๆ หรือการใชนวัตกรรมประเภทสื่อ

สิ่งประดิษฐ โดยอาจารยผูสอนตัดสินใจเลือกสิ่งที่เหมาะสมเองหรือศึกษาจากงานวิจัยที่เกี่ยวของ

ยกตัวอยางเชน ปญหาการสอนในปที่ผานมา พบวา ผูเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตํ่าเน่ืองจากเปน

บทเรียนที่มีเน้ือหาวิชาที่ยาก ซับซอน ลําพังการบรรยายเพียงอยางเดียวอาจไมเพียงพอ ดังน้ันอาจแก

โดยการใชรูปแบบการเรียนแบบรวมมือ รูปแบบการเรียนที่ใชปญหาเปนหลัก เทคนิคการสรางผัง

ความคิด เทคนิคหมวก 6 ใบ การสอนซอมเสริมโดยครู เพื่อนสอนเพื่อน พี่สอนนอง เปนตน หรือการใช

สื่อประเภทตางๆ เพื่อเสริมความรูความเขาใจ เชน วีดิทัศน บทเรียนแบบโปรแกรม บทเรียน

คอมพิวเตอรชวยสอน เปนตน

4. การออกแบบการทดลองใชวิธีแกไขหรือนวัตกรรม

การออกแบบการทดลองเปนการวางเงื่อนไขในการนําวิธีการแกปญหาที่เลือกไปทดลองใช

ในการเรียนการสอน ซึ่งระยะเวลาที่จะใชเวลาไมควรนานเกินไป เพราะการวิจัยในช้ันเรียนมักจะเปน

ปญหาเล็กๆ ที่สามารถดําเนินการใหเสร็จไดภายใน 1 ช่ัวโมง หรือ 2 – 3 ช่ัวโมง หรือ 1 สัปดาห หรือ

1 เดือนก็ได แตไมควรนานเกิน 2 เดือน

5. การสรางและพัฒนาเครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล

เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลมีหลายอยาง เชน แบบสังเกต แบบสัมภาษณ แบบ

ประเมิน แบบซักถาม แบบวัดเจตคติ แบบทดสอบ หรือแบบตรวจผลงาน ในการวิจัยในช้ันเรียนไม

จําเปนตองมีเครื่องมือที่ซับซอนเหมือนการวิจัยทั่วๆ ไป อาจารยผูสอนอาจใชการสังเกตเพียงอยาง

เดียวก็ไดหากมั่นใจวาจะไดขอมูลที่ตองการอยางครบถวน

6. การทดลอง รวบรวม วิเคราะห และสรุปผลขอมูล

การทดลองจะดําเนินการตามแผนการวิจัยที่ออกแบบไว อยางไรก็ตามสามารถ

ปรับเปลี่ยนไดตามสถานการณแตตองไมใหหลุดออกไปจากกรอบแนวคิดที่ต้ังไว สวนการวิเคราะห

Page 37: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

35

ขอมูลเปนการจัดระบบและสรุปขอมูลที่รวบรวมไดเพื่อตอบวัตถุประสงคของการวิจัย ถาขอมูลที่

รวบรวมไดมีลักษณะเปนขอมูลเชิงคุณภาพไมจําเปนตองมีการใชสถิติ ถาขอมูลที่รวบรวมไดมีลักษณะ

เปนขอมูลเชิงปริมาณ การใชสถิติอยางงายวิเคราะหขอมูลจะเปนเครื่องมือสําคัญที่ชวยใหผูวิจัย

สามารถสรุปผลการวิจัยไดชัดเจน

ตัวอยางงานวิจัยในชั้นเรียน

การศึกษาผลการสอนโดยการทําโครงงานในวิชาเกษตร เรื่อง การเพาะปลูกพืชผักสวนครัว

ผูวิจัย : สัมพันธ ตนกันยา

บทคัดยอ

การวิจัยครั้ ง น้ีมี วัตถุประสงค เพื่อ

ศึกษาผลการสอนแบบโครงในวิชาเกษตร เรื่อง

การเพาะปลูกพืชผักสวนครัวดวยจุลินทรีย อี

เอ็ม การวิจัยน้ีเปนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ

(Action research) ดําเนินการตามข้ันตอน

คือ การวางแผน การปฏิบัติตามแผน การ

สังเกต การเก็บรวบรวมขอมูล และการ

สะท อนการปฏิบั ติ กลุ มผู ร วม วิจั ย เป น

นักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 6/1 ปการศึกษา

2543 โรงเรียนคายประจักษศิลปาคม สังกัด

สํานักงานการประถมศึกษาอํา เภอเมือง

อุดรธานี จํานวน 31 คน ครูผูรวมวิจัย 3 คน

ผูวิจัย ผูปกครองนักเรียน 10 คน ผูเกี่ยวของ

กับ การใชั จุลินทรีย อี เอ็ม 5 คน การวิจัยใช

แผนการสอนที่ ผู วิจั ยสร าง ข้ึนจํ านวน 6

แผนการสอน การประเมินผลใชแบบทดสอบ

ความรูจุลินทรีย อีเอ็ม 25 ขอ ผลการวิจัย

พบวานักเรียนมีความรู ความเขาใจ เรื่อง การ

นํา จุลินทรีย อีเอ็มมาใชในการทําการเกษตร

ปลอดสารพิษ นักเรียนสามารถนําความรูกอน

และหลังการเรียนของนักเรียนพบวา นักเรียน

มีความรู เพิ่มข้ึนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่

ระดับ .05 ดานความเห็นเกี่ยงกับการเรียน

แบบน้ี นักเรียนสงนมากชอบและรับผิดชอบ

งานดีมาก นักเรียนสามารถนําความรูในการ

ปลูกผักสวนครัวโดยใชจุลินทรีย อี เอ็ม ไปใช

ในชีวิตประจําวันได และยังสามารถนําผลผลิต

ที่ไดไปขายหารายไดพิเศษไดอีกดวย

การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีระหวางการเรียนแบบรวมมือกับการสอนตาม

คูมือครู ของ สสวท. ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4

วิจัย : วีระยุทธ คุณารักษ

บทคัดยอ

การวิจัยครั้งน้ีเปนการเปรียบเทียบ

ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาเคมี เรื่องพันธะ

เคมี ของ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4 ที่

ไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือกับการ

สอนตามคูมือครูของ สสวท. กลุมตัวอยางเปน

นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4 แผนการเรียน

Page 38: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

36

วิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ในภาคเรียนที่ 1 ป

การศึกษา 2542 ของโรงเรียนเบญจมราชูทิศ

อํา เภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช ที่ไดมา

โดยวิธีการสุมหลายข้ันตอนไดกลุมทดลอง

และกลุมควบคุม กลุมละ 47 คน กลุมทดลอง

จัดนักเรียนเข ากลุ มยอยที่ประกอบดวย

นักเรียนที่มี ระ ดับคะแนนสู ง ปานกลาง

และต่ํา ในอัตราสวน 1 : 2 : 1 โดยใชคะแนน

ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน บทที่ 1 วิชาเคมี ว

432 เปนเกณฑ กลุมตัวอยางใชเวลาทดลอง

กลุมละ 18 คาบ ๆ ละ 50 นาที ในเรื่อง

พันธะเคมี กลุมทดลองไดรับการสอนโดยการ

เรียนแบบรวมมือ กลุมควบคุมไดรับการสอน

ตามคูมือครู ของ สสวท. การดําเนินการ

ทดลองตามแบบแผน Randomized Control

Group Pretest-Posttest Design เมื่อสิ้นสุด

การทดลองแลวนํา คะแนนที่ไดมาทดสอบคา

ที (t - test) ผลการวิจัยพบวา 1) ผลสัมฤทธ์ิ

ทางการเรียนวิชาเคมี เรื่องพันธะเคมี หลัง

ไดรับการ เรียนแบบรวมมือ แตกตางจาก กอน

ไดรับการเรียนแบบรวมมือ มีนัยสําคัญทาง

สถิติที่ระดับ .01 2) ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน

วิชาเคมี เรื่องพันธะเคมี หลังไดรับการสอน

ตามคูมือครูของ สสวท. แตกตางจาก กอน

ไดรับการสอน มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

3) ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาเคมี เรื่องพันธะ

เคมี ระหวางการเรียนแบบรวมมือ แตกตาง

จากการสอนตามคูมือครูของ สสวท . มี

นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยวิธีการเรียน

แบบรวมมือมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงกวา

การสงเสริมการทองคําศัพทในวิชา Social Studies ในเรื่องอาชีพและสถานท่ีตางๆ ในชุมชน

ผูวิจัย : วัฒน เทียนสวัสด์ิ

บทคัดยอ

การศึกษาวิจัยน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อ

พัฒนาการทองคําศัพทและสงเสริมการทอง

คําศัพทของนักเรียนโดยใชกิจกรรมแบบฝกหัด

เกี่ยวกับคําศัพทภาษาอังกฤษในวิชา Social

Studies โดยกลุมทดลองเปนนักเรียนช้ัน

ประถมศึกษาปที่ 2/6 จํานวน 35 คนโดยให

นักเรียนทดสอบเกี่ยวกับคําศัพทกอนเรียน

แลวหลังจากน้ันใหนักเรียนทําแบบฝกหัด

เกี่ยวกับคําศัพทที่ผูวิจัยไดสรางข้ึน จํานวน 3

ฉบับ จากน้ันจึงทําการทดสอบหลังเรียน และ

วิเคราะหผลคะแนนโดยใชวิธีการหาคาเฉลี่ย

และคารอยละ ผลปรากฏวา การใชกิจกรรม

การเขียนคําศัพทและทําแบบฝกหัดเกี่ยวกับ

คําศัพทภาษาอังกฤษ ทําใหนักเรียนมีความรู

และความจํา ในการนําคําศัพทที่ไดเรียนมาใช

และทําแบบฝกหัดหลังเรียนไดคะแนนเพิ่มข้ึน

จากเดิม ดังจะเห็นไดจากการเปรียบเทียบผล

การทดสอบกอนเรียนและหลังเรียนของ

นักเรียนที่เพิ่มข้ึนโดยเฉลี่ยรอยละ 17

Page 39: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

37

การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน วิชาสถิติเบ้ืองตน เรื่อง ทฤษฎีความนาจะเปนเบ้ืองตน

ผูวิจัย : อภิญญา อิงอาจ

บทคัดยอ

การวิจัยครั้งน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อสราง

และหาประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอรชวย

สอน ศึกษาผลสัมฤทธ์ิกอนเรียนและหลังเรียน

ดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน (pre-post

test) และศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาที่มี

ตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนในการเรียน

การสอนวิชาสถิติเบื้องตน เรื่องทฤษฎีความ

นาจะเปนเบื้องตน โดยกลุมตัวอยางเปน

นั ก ศึ ก ษ า ต า ง ส า ข า ร ะ ดั บ ป ริ ญ ญ า ต รี

มหา วิทยาลั ย กรุ ง เทพ ช้ันปที่ 2 ภาค

การศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2545 จํานวน 51

คน โ ดย ทํ า ก า ร สุ ม แบ บ กลุ ม ( Cluster

Sampling) เครื่องมือที่ใชในการวิจัยไดแก

บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่ผูวิจัยพัฒนา

ข้ึนใหไดตามเกณฑ 80/80 แบบทดสอบ

ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน และแบบสอบถาม

ความคิดเห็น จากน้ันนําขอมูลที่ไดมาทําการ

วิเคราะหเพื่อหาคารอยละ (Percentage)

คาเฉลี่ย (Mean) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

(S.D.) และทดสอบคาที (pair t-test) ดวย

โปรแกรมสําเร็จรูป SPSS for Windows

ผลการวิจัยพบวา 1) บทเรียนคอมพิวเตอร

ชวยสอนที่ผู วิจัยพัฒนาข้ึนมีประสิทธิภาพ

82/81.33 ซึ่ งสู งกวา เกณฑที่กํ าหนด 2)

ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังการเรียนดวย

บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนสูงกวากอน

เรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

และ 3) ความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีตอ

บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน สวนมากพบวา

นักศึกษาชอบเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอร

ชวยสอนเพราะเห็นเปนความแปลกใหม ไม

รูสึกเบื่อหนาย ตองการใหมีการเรียนการสอน

ดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ทําใหมี

ความเขาใจเน้ือหาในบทเรียนไดดีข้ึน ตองการ

ใหนักศึกษาผูอื่นและตนเองไดมีโอกาสเรียน

ดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนในวิชาน้ี

และวิชาอื่นๆ อีกตอไป

การพัฒนานาทักษะในดานการอาน ระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 2/2

ผูวิจัย : มัตติกา ฉัตรเงิน

บทคัดยอ

การวิจัยครั้งน้ี มีจุดมุงหมายเพื่อการ

พัฒนาทั กษะในด านก ารอ า นระ ดับ ช้ัน

ประถมศึกษาปที่ 2/2 ในภาคเรียนที่ 2 ป

การศึกษา 2546 จากจํานวนนักเรียนทั้งหมด

2 คน ดวยวิธีการประเมินที่เนนผูเรียนเปน

สําคัญ ระยะเวลาที่ใชในการวิจัยทั้งสิ้น โดย

เริ่มทําการวิจัยต้ังแตเดือน พฤศจิกายน-เดือน

กุมภาพันธ ผลการวิจัย พบวานักเรียน

จํานวนหน่ึงมีการพัฒนาทักษะในดานการอาน

ดีข้ึนกวาเดิม ดวยวิธีการใหแรงเสริมโดยการ

Page 40: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

38

ชมเชยและใหระยะเวลาในการฝกทักษะการ

อานมากพอสมควร ดังน้ัน นักเรียนจึงเกิด

ทักษะในดานการอานโดยฝกทักษะการประสม

คํา พยัญชนะ สระ ตัวสะกด และรูป

วรรณยุกต ไดอยางถูกตอง โดยนํามาซึ่งการ

พัฒ นาทั กษะ ในด า นก า ร อ า น ได อ ย า ง

คลองแคลวและถูกตองเขาใจมากย่ิงข้ึน

การพัฒนาพฤติกรรมในการรักษาความสะอาดหองเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 4

ผูวิจัย : ทัศนีย ยินดี

บทคัดยอ

การศึกษาวิจัยครั้งน้ี มีวัตถุประสงค

เพื่อพัฒนาพฤติกรรมในการรักษาความสะอาด

หองเรียนของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 4

จํานวน 43 คน โดยการสอดแทรกในช่ัวโมง

สอน ข้ีแนะใหเห็นขอดี – ขอเสีย โดยใชแบบ

บันทึกพฤติกรรมในการรักษาความสะอาด ซึ่ง

ทดลองใชวิธีการ 4 แบบในการปฏิบัติ วิธีการ

ละ 1 สัปดาห คือ แบบที่ 1 ทุกคนเปนเวรดูแล

ทุกวัน แบบที่ 2 ใหนักเรียนจับกลุมเวรกันเอง

5 กลุม แบบที่ 3 ครูแบงเวรใหเปน 5 กลุม มี

ทั้งชาย – หญิง คละกัน แบบที่ 4 ครูแบงเวร

ใหเปน 5 กลุม มีทั้งชาย – หญิง คละกัน

เหมือนแบบที่ 3 แตเพิ่มใหมีถุงขยะสวนตัว

โดยกอนทดลองปฏิบัติ 4 วิธีการ ใหนักเรียน

ทําแบบสอบถามพฤติกรรมการรักษาความ

สะอาด เพื่อดูพื้นฐานการรักษาความสะอาด

มอบหมายกลุมนักเรียนที่เปนเวรบันทึกผลสง

รวมเวลา 1 เดือน ผลปรากฏวา นักเรียนมี

พื้นฐานที่จะพัฒนาใหมีนิสัยรักษาความสะอาด

จึงเริ่มทําการวิจัยใหนักเรียนปฏิบัติแตละแบบ

จนครบ พรอมบันทึกผล พบวาในการปฏิบัติ

แบบที่ 4 ไดผลดีที่สุดเปนที่นาพอใจ สมควรใช

วิธีการน้ีและรวมกันปรับปรุงใหดีข้ึนเพื่อความ

สะอาด บรรยากาศ ที่นาเรียนตอไป

การศึกษาพฤติกรรมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6/6 ในเรื่องการไมสงงาน / การบาน

ผูวิจัย : ทิพรัตน รัตตะมาน

บทคัดยอ

การศึกษาวิจัยครั้งน้ี มีวัตถุประสงค

เพื่อศึกษาพฤติกรรมของนักเรียนในระดับช้ัน

ประถมศึกษาปที่6 / 6 โรงเรียนอัสสัมชัญ

ระยองผูวิจัยไดจัดทําแบบสอบถามเพื่อศึกษา

สาเหตุของการไมสงงาน / การบานของ

นักเรียนจํ านวน 15 ขอ โดยให นัก เรียน

เรียงลําดับสาเหตุการไมสงงาน / การบาน

ตามลําดับที่มากที่สุดจนถึงนอยที่สุดจากลําดับ

1 – 15 และไดทําการนําผลของแตละสาเหตุ

มาหาคา รอยละ แลวนําขอมูลมาวิเคราะห

และหาขอสรุปพรอมทั้งนําเสนอในรูปของ

ตารางประกอบ คําบรรยาย เพื่ อ ศึกษา

พฤติกรรมชองนักเรียนในเรื่องการไมสงงาน /

การบาน ผลการศึกษาปรากฏวา จาก

Page 41: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

39

การศึกษาและวิเคราะหแบบสอบถามเพื่อ

ศึกษาพฤติกรรมของนักเรียนช้ันประถมศึกษา

ปที่ 6 / 6 ในเรื่องการไมสงงาน / การบาน

แสดงใหเห็นวา สาเหตุของการไมสงงาน /

การบาน ลําดับที่ 1 คือ การใหการบานมาก

เกินไป และแบบฝกหัดยากทําไมได โดยคิด

จากนักเรียน 41 คน ที่เลือกเปนสาเหตุอันดับ

ที่ 1 และ 2 จํานวน 27 คน คิดเปน รอยละ

65.85

การวัดเจตคติท่ีมีตอวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนในระดับชั้นประถมปท่ี 6

ผูวิจัย : กุหลาบ สอาด

บทคัดยอ

การศึกษาวิจัยครั้งน้ี มีวัตถุประสงค

เพื่ อ วั ด เ จ ตคติ ของ นัก เ รี ยนที่ มี ต อ วิ ช า

ภา ษ าอั ง ก ฤ ษ ข อ ง นั ก เ รี ย น ร ะ ดับ ช้ั น

ประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง

ในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2546 กลุม

ทดลองเปนนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 6

จํ า น ว น 2 4 3 ค น โ ด ย ให นั ก เ รี ย น ทํ า

แบบสอบถามวัดเจตคติจํานวน 15 ขอ ที่

คณะผูวิจัยไดสรางข้ึน จํานวน 1 ฉบับ จากน้ัน

จึงทําการวิเคราะหผลคะแนนโดยใชวิธีการหา

คาเฉลี่ย ผลการศึกษาปรากฏวา คะแนนเฉลี่ย

ของแบบสอบถามมีคาเทากับ 3.56 ซึ่งแปล

ความได ว า นัก เ รี ยนมี เ จตค ติที่ ดี ตอ วิชา

ภาษาอังกฤษ

การศึกษาปญหาความคงทนในการจําคําศัพทของนักเรียนชั้น ป. 6

ผูวิจัย : วาสนา กวางต๊ิด, ทิพรัตน รัตตะมาน, ศุภนุช วิสุทธิวรรณ และ กุหลาบ สอาด

บทคัดยอ

การศึกษาวิจัยครั้งน้ี มีวัตถุประสงค

เพื่อพัฒนาการจดจําคําศัพท โดยใชกิจกรรม

การเขียนคําศัพท และทําแบบฝกหัดเกี่ยวกับ

คําศัพทภาษาอังกฤษ ของนักเรียนระดับช้ัน

ประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง

ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2546 กลุมทดลอง

เปนนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 6 จํานวน

243 คน โดยให นักเรียนทดสอบเกี่ยวกับ

คําศัพทกอนเรียน แลวหลังจากน้ันใหนักเรียน

ทําแบบฝกหัดเกี่ยวกับคําศัพทภาษาอังกฤษ ที่

คณะผูวิจัยไดสรางข้ึน จํานวน 4 ฉบับ จากน้ัน

จึงทําการทดสอบหลังเรียน และวิเคราะหผล

คะแนนโดยใชวิธีการหาคาเฉลี่ยและคารอยละ

ผลการศึกษาปรากฏวา การใชกิจกรรมการ

เขียนคําศัพทและทําแบบฝกหัดเกี่ยวกับ

ภาษาอังกฤษ ทําใหนักเรียนมีความรู ความจํา

ความ เข า ใจ ในคํา ศัพทและสามารถทํ า

แบบทดสอบหลังเรียนไดคะแนนเพิ่มข้ึนจาก

เดิม ดังจะเห็นไดจากการเปรียบเทียบผลการ

ทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน ของนักเรียน

ทั้ง 6 หอง ที่เพิ่มข้ึนโดยเฉลี่ย คิดเปนรอยละ

21.26

Page 42: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

40

ผลการจัดประสบการณโดยการใชแรงเสริมในการพัฒนาทักษะการพูด

ผูวิจัย : มัลลิกา ทรัพยคง

บทคัดยอ

การวิจัยครั้งน้ี มีวัตถุประสงคเพื่อฝก

ทักษะพัฒนาการในการฟงและพูดไดอยาง

ชั ด เ จ นแล ะ ต อ เ น่ื อ ง ใ นก า ร สื่ อ ส า ร ไ ด

ผู เ กี่ ยวของกับ เ ด็ก จึ งควรมีความเข าใจ

พัฒนาการทางภาษา เพื่อหาวิธีการสงเสริมให

เด็กไดมีพัฒนาการทางภาษาดีข้ึน เครื่องมือที่

ใชในการวิจัยครั้งน้ี เปนการอานคําจากภาพ

เพราะเด็กจะอานคําจากตัวอักษรไมได และครู

บันทึกการอานของผู เ รียนอยางตอ เ น่ือง

ผล กา ร วิ จั ย ครั้ ง น้ี พบ ว า ด .ช . ธนพ ง ษ

แสงอาทิตย สามารถฝกการพูดได จากการ

สงเสริมใหผูเรียนไดฝกบอย ๆ จึงมีผลใหการ

จั ดป ระส บการณ มี ก าร พัฒนามาก ข้ึ น

ตามลําดับ

------------------------------------------------------------------------

รายการอางอิง

พิมพันธ เดชะคุปต. 2544. วิจัยในชั้นเรียน: หลักการสูการปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: บริษัทเดอะ

มาสเตอรกรุป แมเนจเมนท จํากัด.

สุรพงษ คงสัตย และธีรชาติ ธรรมวงค. 2551. ความรูเก่ียวกับวิจัยในชั้นเรียน. [ออนไลน]

แหลงที่มา: http://www.mcu.ac.th/site/articlecontent_desc.php?article_id

=653&articlegroup_id=146

สุวิมล วองวาณิช. การวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน : Classroom Action Research.

กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. 2543.

สุวัฒนา สุวรรณเขตนิคม. "หลักการ แนวคิดและรูปแบบที่เกี่ยวกับการวิจัยในช้ันเรียน" (หนา 6

- 11) ในลัดดา ภูเกียรติ (บรรณาธิการ). 2538. เสนทางสูการวิจัยในชั้นเรียน.

กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ บริษัท บพิธ การพิมพ.

Page 43: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

41

แลกเปลี่ยนเรียนรู

Knowledge Sharing

ฉบับปฐมฤกษน้ี เพื่อใหเขากับประเด็นการจัดการเรียนการสอนโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ

ทางทีมงานไดติดตอขอสัมภาษณคณาจารยในคณะทั้งจากทานอาจารยอาวุโสและอาจารยรุนใหม เรา

ลองมาฟงประสบการณเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนของคณาจารยทานเหลาน้ันวาที่ผานมาเคย

ประสบปญหาอะไรบางและแตละทานมีวิธีการแกไขปญหาอยางไร โดยไดแบงออกเปนประเด็นตางๆ

ซึ่งเปนปญหาที่ไดจากเวทีการเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2554 ณ หอง A207

อาคารเจาคุณทหาร คณะเทคโนโลยีการเกษตร เผื่อทานผูอานจะนําไปทดลองใชในรายวิชาของตนก็

ไมสงวนลิขสิทธ์ินะครับ

ผศ.ดร.อํามร อินทรสังข

สาขาวิชา เทคโนโลยีการผลิตพืช

ประสบการณในการสอน 21 ป

1 ประเด็นนักศึกษาขาดทักษะดานการสื่อสารเบ้ืองตน

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

การเขียน นักศึกษาเขียนบรรยายความไม

เปน ไมตรงประเด็น ขาดความตอเน่ือง

เขาใจไดยาก

การพูด ตอบคําถามไมตรงประเด็น เรียบ

เรียงคําพูดไมถูกตอง ขาดความชัดเจน

ซักซอมทําความเขาใจวาจะสื่อถึงเรื่องใด

อะไรคือเน้ือหาสําคัญ และใหเขียนหรือให

พูดใหมอีกครั้ง

Page 44: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

42

2 ประเด็นนักศึกษาขาดความรูพ้ืนฐาน

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

ขาดความรูทั่วไปที่สําคัญๆ หรือ

สถานการณเดนๆ ในชวงเวลาน้ันๆ

บอกเลา ดึงดูดความสนใจ โดยช้ีใหเห็น

ความสําคัญของประเด็นน้ันๆ และ

เสนอแนะวา นักศึกษาควรมีความรอบรู

เรื่องใด จากสังคมที่มีสือ่ความรูอยาง

กวางขวางในขณะน้ี

3 ประเด็นนักศึกษาขาดการคนควา

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

นักศึกษาหาขอมูลมานําเสนอเพียงบางขอ

บางผลงานไมครอบคลุมทั้งหมด

ยํ้าเตือนใหไปหาขอมูลเพิ่มเติมใหม

ใหคําเสนอแนะเพิ่มเติมถึงกรอบ ประเด็น

และชนิดของสื่อความรูที่ควรคนหาเพิ่มเติม

4 ประเด็นนักศึกษาขาดการใสใจในการเรียน

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

นักศึกษาไมเขาเรียนในช่ัวโมงบรรยาย

หรือเขาเรียนสาย

ขาดความกระตือรือรนในช่ัวโมง

ปฏิบัติการ

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช

เขาสอนและตรวจสอบรายช่ือ ตรงเวลา

กรณีที่มีนักศึกษาจํานวนมาก จะสุม

ตรวจสอบรายช่ือประมาณ 20-25% ของ

จํานวนนักศึกษา (เชน 200 กวาคน)

ตรวจผลการทํางานทายช่ัวโมงปฏิบัติการ

มีการใหคะแนนผลงานในสวนความต้ังใจ

ทํางาน ประกอบดวย เชน การใหดาวขยัน

ต้ังใจ เปนตน

5 ประเด็นนักศึกษาขาดประสบการณตรง

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

ขาดประสบการณในข้ันตอนการทํา

ปญหาพิเศษ การหาขอมูล การเรียบเรียง

และวิธีปฏิบัติในการทดลอง

แนะนํา ใหความรู วิธีเขียนปฏิบัติ รวมทั้ง

การคนควา

Page 45: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

43

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

ใหทดลองปฏิบัติการหลายๆ ครั้ง

สงนักศึกษาไปฝกงาน ฝกปฏิบัติจริงกับ

หนวยงานที่เกี่ยวของ (โดยใชความสัมพันธ

สวนบุคคล)

ผศ.ดร.กัญจนา แซเตียว

สาขาวิชา เทคโนโลยีการผลิตพืช

ประสบการณในการสอน 15 ป

1 ประเด็นนักศึกษาขาดทักษะดานการสื่อสารเบ้ืองตน

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

นักศึกษาเปนผูฟงฝายเดียว เมื่อถามหรือ

ใหอธิบายไมสามารถลําดับการพูดได

ฝกใหมีการนําเสนอหนาหองมากข้ึน

2 ประเด็นนักศึกษาขาดความรูพ้ืนฐาน

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

นักศึกษาขาดความรูพื้นฐานที่จะนํามา

วิเคราะหหรืออธิบาย เพื่อใหเขาใจใน

บทเรียนที่เกี่ยวเน่ืองกัน

ตองสอนพื้นฐานที่นักศึกษายังขาดใหม ทํา

ใหยังคงเปนการสอนเรื่องเดิมที่เคยเรียนมา

แลวแตไมเขาใจ

ใหกลับไปทบทวนความรูพื้นฐาน ที่

เกี่ยวของกับวิชาที่กําลังเรียน

Page 46: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

44

3 ประเด็นนักศึกษาขาดการคนควา

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

นักศึกษาไมมีการคนควาขอมูลเพิ่มเติม

จากที่อาจารยสอน

ใหทํารายงานโดยใหคนควาขอมูล โดยเนน

ใหนักศึกษาคนควาและอานงานที่ออกมา

ใหมใหทันตอขอมูลปจจุบัน

4 ประเด็นนักศึกษาขาดการใสใจในการเรียน

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

มาเรียนสาย

เขาหองแลวไมต้ังใจเรียน

เนนใหเห็นถึงความสําคัญของการเรียน

5 ประเด็นนักศึกษาขาดประสบการณตรง

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

นักศึกษานึกภาพงานหรือกิจกรรมตางๆ ที่

บรรยายในหองเรียนไมออก เน่ืองจากไม

เคยเห็นของจริง หรือไมเคยดูสถานที่จริง

เพิ่มการทัศนศึกษา และดูงานที่เกี่ยวของ

ใหนักศึกษาในวิชาน้ันๆ

รศ.ดร.จํารูญ เลาสินวัฒนา

สาขาวิชา เทคโนโลยีการผลิตพืช

ประสบการณในการสอน 11 ป

1 ประเด็นนักศึกษาขาดทักษะดานการสื่อสารเบ้ืองตน

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

นักศึกษามักจะไมแสดงความคิดเห็น หรือ

สอบถามในขอสงสัย

ต้ังคําถามและชวนนักศึกษาพูดคุยใน

เน้ือหาหลังจากเรียน

Page 47: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

45

2 ประเด็นนักศึกษาขาดความรูพ้ืนฐาน

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

นักศึกษาไมสามารถเขาใจในเน้ือหาที่จะ

สอนตอยอดได

อธิบายโดยสรุปในสวนของความรูพื้นฐาน

3 ประเด็นนักศึกษาขาดการคนควา

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

ขาดการคนควาจากแหลงขอมูลที่เช่ือถือได

นักศึกษามักใชขอมูลจากฐานขอมูลใน

Internet ที่ไมสามารถตรวจสอบขอมูลได

และใชวิธี Copy โดยไมอานทําความเขาใจ

การคนควากําหนดใหนักศึกษาสง

เอกสารอางอิงดวย

รายงานการคนควากําหนดใหนักศึกษา

เขียนดวยลายมือสง

4 ประเด็นนักศึกษาขาดการใสใจในการเรียน

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

เขาเรียนสาย

ไมต้ังใจเรียน

กําหนดเวลาในการเซ็นช่ือเขาเรียน

ต้ังคําถามในหัวขอที่สอน และสุมถาม

นักศึกษาที่สังเกตวาไมเอาใจใสในการเรียน

ดร.ลําแพน ขวัญพูล

สาขาวิชา เทคโนโลยีการผลิตพืช

ประสบการณในการสอน 4 ป

1 ประเด็นนักศึกษาขาดทักษะดานการสื่อสารเบ้ืองตน

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

นักศึกษาใชภาษาวัยรุนในการตอบคําถาม

ในช้ันเรียนและในการทําขอสอบแบบ

อัตนัย

ฝกใหนักศึกษานําเสนองานหนาช้ันและใช

ภาษาวิชาการ มีการทําขอสอบยอยทาย

บทเรียน และตรวจแกภาษาใหนักศึกษา

Page 48: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

46

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

นําเสนองานหนาช้ันไมได ไมรูจักสรุป

ประเด็นมานําเสนอ

ใหคําปรึกษา เสนอแนะแนวทางในการ

นําเสนอ

ฝกใหนักศึกษาสรุปและจับประเด็นเน้ือหา

2 ประเด็นนักศึกษาขาดความรูพ้ืนฐาน

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

ไมสามารถเอาความรูพื้นฐานที่เรียนมาใช

ในการตอบคําถามในการทําขอสอบ หรือ

ในช้ันเรียนได

ทบทวนความรูพื้นฐานใหนักศึกษากอน

ใหนักศึกษาทําการบานเกี่ยวกับหัวขอที่

ตองอาศัยความรูพื้นฐาน

3 ประเด็นนักศึกษาขาดการคนควา

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

นักศึกษาไมสามารถทําขอสอบที่เปน

คําถามทั่วไป (นอกกรอบได)

นักศึกษาไมอานหนังสืออื่น นอกจาก

Sheet Slide ของอาจารยที่สอน

มอบหมายงานใหคนควาเพิ่มเติมในแตละ

หัวขอ

แนะนําแหลงขอมูล และวิธีการคนควาให

นักศึกษา

4 ประเด็นนักศึกษาขาดการใสใจในการเรียน

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

เดินเขา-ออกหองเรียนบอย ๆ

รับโทรศัพทขณะมีการเรียนการสอน

คุยกัน ไมสนใจ

ตกลงกันช่ัวโมงแรกวาจะสอนกี่นาทีแลวให

นักศึกษาพัก

บอกใหนักศึกษาปดเสียงโทรศัพทและหาม

รับขณะเรียน

พยายามแทรกคําถามระหวางสอน และให

ทํางานกลุม

Page 49: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

47

5 ประเด็นนักศึกษาขาดประสบการณตรง

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

ไมเคยรูจักตนไม/ไมผลทางเศรษฐกิจที่

ปลูกในบานเรา

ไมสามารถเอามาปรับใชกับการเรียนใน

แตละรายวิชาได

ใหนักศึกษาคนควาอานวารสารงานวิจัย

และวารสารขาวทั่วไปทางการเกษตรและ

จัดทํารายงาน

ทัศนศึกษาดูงานนอกสถานที ่

ฝกปฏิบัติจริงเพื่อใหนักศึกษามี

ประสบการณ

ดร.นิตยา ผกามาศ

สาขาวิชา เทคโนโลยีการผลิตพืช

ประสบการณในการสอน 4 ป

1 ประเด็นนักศึกษาขาดทักษะดานการสื่อสารเบ้ืองตน

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

เวลาเรียกใหตอบคําถามในหองเรียน

นักศึกษาบางคนไมสามารถอธิบายได แม

เราจะดูออกวานักศึกษาเขาใจบาง แต

นักศึกษามักเรียบเรียงคําพูดไมถูก

การออกขอสอบแบบอัตนัย ปญหาที่พบ

หลายครั้ง คือ นักศึกษามักไมทําขอสอบ

เพราะไมชอบขอสอบที่ตองเขียนเยอะ

บางครั้งเมื่อถามนักศึกษามักตอบวาไมรู

จะเขียนอะไร

เวลาถามนักศึกษาตองมีมุกตลกๆ

สอดแทรก เพื่อใหนักศึกษาผอนคลาย

ในขณะที่นักศึกษาตอบแลวติดขัดก็ชวย

เสนอแนะ เมื่อนักศึกษาตอบแลวควรสรุป

ตอนทายพรอมเสริมวาตอไปถาเจอคําถาม

แบบน้ี ควรจะตอบแนวทางไหน ฝกทํา

บอยๆ จะเห็นพัฒนาการของนักศึกษา

ใหนักศึกษาฝกทําขอสอบ Pre-test หรือ

Post-test ในช้ันเรียน และพยายามตรวจ

และสงคือนักศึกษา เพื่อใหนักศึกษาเห็น

ขอบกพรองของตัวเอง เวลาตอบขอสอบ

พรอมทั้งมีการเสนอแนะแนวทางใหการคิด

โจทก และวิเคราะหกอนการตอบอยางไร

Page 50: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

48

2 ประเด็นนักศึกษาขาดความรูพ้ืนฐาน

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

นักศึกษาไมนําความรูพื้นฐานที่เรียนมาใช

ในวิชาที่มีเน้ือหาตอเน่ืองกัน บางครั้งลอง

น่ังวิเคราะหดู อาจจะเปนเพราะบางวิชา

ออกขอสอบแบบปรนัย ดังน้ันเมื่อ

นักศึกษาออกจากหองสอบก็จะลืมทันท ี

หากเราตองสอนวิชาที่เปนความรูพื้นฐาน

จะเนนทําความเขาใจในหองเรียน โดยการ

เรียกถาม-ตอบ เพื่อใหนักศึกษามีสวนรวม

และจะชวยใหนักศึกษาจําไดดีข้ึน และ

พยายามออกขอสอบที่ตองอาศัยการคิด

วิเคราะหบาง ใชความจําบาง

ถาเราตองสอนวิชาที่ตองอาศัยความรู

พื้นฐานจากวิชาอื่นๆ อาจจะตองมีการ

ทบทวนเน้ือหาในช่ัวโมงแรกๆ เพื่อฟน

ความจําจะสามารถทําใหนักศึกษาตอกัน

ติดได

3 ประเด็นนักศึกษาขาดการคนควา

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

เมื่อมีการสั่งใหนักศึกษาทํารายงานสง จะ

สังเกตวานักศึกษา Copy งานของเพื่อน

มาสง เพียงแตเปลี่ยนช่ือหนาปกรายงาน

เวลานักศึกษามีขอสงสัยอะไรจะไมยอม

คนควากอนที่จะมาถามอาจารย เดินตรง

มาถามอาจารยเลย ทั้งๆ ที่ขอมูล

บางอยางสามารถคนควาไดในตําราเรียน

การสอบยอยตนช่ัวโมงและ Lock ประตู

หองเปนเวลา 15 นาที ดังน้ันนักศึกษาที่มา

สายก็จะไมไดสอบ ทําการสอบยอยเก็บ

คะแนนบอยๆ นักศึกษาจะมีความ

กระตือรือรนมากข้ึนกวาเดิม แตตองทํา

สม่ําเสมอ

การเรียกสมาธินักศึกษากลับมาโดยใหตอบ

คําถามในหองเรียน เชน ถานักศึกษากําลัง

คุยกันหรือเลนโทรศัพท จะต้ังคําถามข้ึน 1

คําถาม แลวเรียกใหนักศึกษาคนดังกลาวให

ตอบก็จะชวยใหเรียกสมาธินักศึกษากลับมา

ไดบาง แตอาจารยก็ตองจําช่ือนักศึกษาได

ดวย

Page 51: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

49

4 ประเด็นนักศึกษาขาดการใสใจในการเรียน

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

นักศึกษาเขาหองเรียนสาย

นักศึกษาคุยในหองเรียน

นักศึกษาน่ังหลับในหองเรียน

นักศึกษาเลนโทรศัพทมือถือ และโนตบุค

ในหองเรียน

สอบยอยตนช่ัวโมงและ Lock ประตูหอง

เปนเวลา 15 นาที ดังน้ันนักศึกษาที่มาสายก็

จะไมไดสอบ ทําการสอบยอยเก็บคะแนน

บอยๆ นักศึกษาจะมีความกระตือรือรนมาก

ข้ึนกวาเดิม แตตองทําสม่ําเสมอ

เรียกสมาธินักศึกษากลับมาโดยใหตอบคําถาม

ในหองเรียน เชน ถานักศึกษากําลังคุยกัน

หรือเลนโทรศัพท จะต้ังคําถามข้ึน 1 คําถาม

แลวเรียกใหนักศึกษาคนดังกลาวใหตอบก็จะ

ชวยใหเรียกสมาธินักศึกษากลับมาไดบาง แต

อาจารยก็ตองจําช่ือนักศึกษาไดดวย

ดร.นงลักษณ เภรินทวงศ

สาขาวิชา เทคโนโลยีการผลติพืช

ประสบการณในการสอน 5 ป

1 ประเด็นนักศึกษาขาดความรูพ้ืนฐาน

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

นักศึกษาหลายคน (ไมทุกคน) ขาด

พื้นฐานทางวิชาวิทยาศาสตรที่เกี่ยวของ

กับ พืช-สัตว รวมทั้งวิทยาศาสตรทั่วไป

นักศึกษาขากการใฝหาความรูรอบตัว

เน่ืองจากนักศึกษามีความรูพื้นฐานนอย

และอาจารยมีเวลาสอนในแตละหัวขอ

อยางจํากัด ทําใหนักศึกษาพลาดโอกาส

ในการไดรับขอมูลเชิงลึกที่เกี่ยวของกับ

ใชเวลามากข้ึนในการอธิบายและปูพื้นฐาน

ใหใหม

Page 52: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

50

เน้ือหาวิชา หรือทําใหอาจารยลังเลที่จะ

ใหขอมูลเชิงลึก เพราะกลัววานักศึกษาจะ

ไมรูเรื่อง และจะย่ิงทําใหสับสน

2 ประเด็นนักศึกษาขาดการคนควา

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

นักศึกษาใชสื่อคอมพิวเตอรมากเกินไป ซึ่ง

การคนควาดวยคอมพิวเตอรเปนเรื่องงาย

แตขอมูลที่ไดกลับมาเปนขอมูลที่

“มักจะ” ยังไมไดรับการยืนยันอยางเปน

ลายลักษณอักษร อีกทั้งยังเปนขอมูล

เบื้องตนเปนสวนใหญ แตกตางจากการ

คนควาดวยการอานหนังสือเฉพาะสวน

ของเรื่องน้ันๆ ที่จะมีการอธิบาย แตก

ประเด็น และมีขอมูลสนับสนุนการเขียน

มอบหมายงานใหนักศึกษาคนควาใหมาก

ข้ึน หรือใหหัวขอ (โจทย) และใหนักศึกษา

คนหาบทความที่เกี่ยวของมานําเสนอ โดย

ระบุวาตองเปนบทความที่มกีารตีพิมพใน

หนังสือหรือวารสารเทาน้ัน

3 ประเด็นนักศึกษาขาดการใสใจในการเรียน

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

นักศึกษาเขาเรียนสาย และนักศึกษามัก

อางวามีระเบียบใหเขาสายไดไมเกิน 15

นาที หรือเขาสายไดไมเกิน...ครั้ง/ภาค

การศึกษา

นักศึกษาใชเครื่องเลน mp3 หรือ

โทรศัพท อัดเสียงอาจารยขณะสอน

นักศึกษาใชกลอง Digital หรือโทรศัพท

ถายภาพสไลดหรือสื่อการสอนอื่นๆ แทน

การจดหรือวาดภาพลงสมุดดวยลายช่ือ

การแตงกายของนักศึกษาไมถูกกฎ

ระเบียบ

ตําหนิ หรือสั่งหาม เมื่อพบวา นักศึกษา

อัดเสียงหรือถายภาพสื่อการสอน

เช็คช่ือนักศึกษาเมื่อผานเวลาเขาเรียนไป

แลว 10-15 นาที หรือสุมเช็คช่ือในระหวาง

สอน

Page 53: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

51

ผศ.สุขุมาภรณ ขันธศร ี

สาขาวิชา พัฒนาการเกษตรและการจัดการทรัพยากร

ประสบการณในการสอน 19 ป

1 ประเด็นนักศึกษาขาดทักษะดานการสื่อสารเบ้ืองตน

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

ภาษาของการสื่อสาร นักศึกษาสวนใหญใช

ภาษาพูดเปนภาษาเขียน และภาษาพูดไม

ถูกตองตามลําดับช้ันของการสื่อสาร

ภาษาเขียน สะกด การันต คําควบกลา

คําพองเสียง พองรูป (จากรายงาน)

ภาษากาย การแสดงออกทางภาษากาย

กับลําดับช้ันของการสื่อสารเปนสมัยใหม

ทําใหบุคลิกลักษณะของนักศึกษาที่

แสดงออกไมถูกกับกาลเทศะ

ใชวิธีสอดแทรกและสอนเสรมในรายวิชาที่

รับผิดชอบ

ใหฝกพูดหนาช้ัน

การทํารายงาน

2 ประเด็นนักศึกษาขาดความรูพ้ืนฐาน

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

ความรูรอบตัวของนักศึกษามีนอยมาก

ความรูในการดํารงตนอยูในสังคมปจจุบัน

พูด/บรรยายใหฟง/เลาเรื่องประกอบ

แนะนําหนังสือ/ศึกษาขอมูลจากเว็บไซต

3 ประเด็นนักศึกษาขาดการคนควา

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

นักศึกษาคนควาจากขอมูลทางเดียวคือ

ทาง Internet

คนควาแลวไมสรุปความและรวมความ/

ใชวิธี Copy Paste

แนะนําแหลงขอมูล เชน หองสมุด/ราน

หนังสือ

ใชวิธีเรียนแลวอานออกเสียง (ใหยอ/สรุป

เรื่อง) ในรายวิชา (ทําไดบางเปนบางวิชา)

Page 54: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

52

4 ประเด็นนักศึกษาขาดการใสใจในการเรียน

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

นักศึกษาบางคนขาดเรียนบอย

บางคนควบคุมตนเองไมได

อาจจะไมชอบ ไมสนใจสาขา/วิชาที่เรียน

Attention Class Score (คะแนนเขาหอง)

โทรตาม/ใหเพื่อนตาม

Quiz รายช่ัวโมงโดยไมบอกลวงหนา (บางครั้ง)

5 ประเด็นนักศึกษาขาดประสบการณตรง

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

สภาพครอบครัว วัฒนธรรมความเปนอยู

ในสมัยปจจุบันไมเอื้อใหนักศึกษามี

ประสบการณตรง สิ่งเราในสังคมปจจุบัน

มาก เชน Web ตางๆ เกมส

ไมเรียนรูเรื่องอื่น/ไมสนใจศึกษาเพิ่มเติม

เชน ไมรูจักสิ่งของเครื่องใชบางอยาง

อาหาร ขนม วิถีชีวิต ขนบธรรมเนียม

ประเพณี สํานวน ภาษาพูด ภาษาเขียน

มารยาทพึงกระทํากับผูอาวุโสกวา

สอดแทรกในรายวิชาตามโอกาสอํานวย

การพูดคุยกับนักศึกษานอกรอบ

พบเห็นเตือนตามแตโอกาส

ผศ.ดร.ปญญา หมั่นเก็บ

สาขาวิชา พัฒนาการเกษตรและการจัดการทรัพยากร

ประสบการณในการสอน 9 ป

1 ประเด็นนักศึกษาขาดทักษะดานการสื่อสารเบ้ืองตน

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

ขาดการคิดวิเคราะห การนําเสนอ การต้ัง

คําถาม

เชน วิชาวิจัย จะมอบหมายใหนักศึกษา

แบงกลุมรับผิดชอบในแตละหัวขอจาก

เอกสารประกอบการเรียน ใหนักศึกษา

Page 55: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

53

คนควาเพิ่มเติมและเปนผูนําเสนอในแตละ

หัวขอ และใหกลุมอื่นๆ ต้ังคําถาม สรุป

และใหคะแนน โดยอาจารยจะคอยเติมเต็ม

และเสริมในรายละเอียดที่ขาดไป นักศึกษา

สามารถมีทกัษะการนําเสนอ การต้ังคําถาม

การสรุปสาระสําคัญโดยใช Mind Map

2 ประเด็นนักศึกษาขาดความรูพ้ืนฐาน

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

นักศึกษายังขาดทฤษฎี หลักการ และการ

ประยุกตใช

มีการนํา Mind Map มาชวยในการ

วิเคราะห เชน การวิเคราะหทฤษฎีการ

สื่อสาร หรือการวิเคราะหความย่ังยืน/การ

พึ่งตนเองของการพัฒนาชุมชน โดยใช

Model TREMS/BAN/PAR

3 ประเด็นนักศึกษาขาดการคนควา

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

นักศึกษาขาดการคนควาเพิ่มเติมจาก

ตําราที่สอน

ขาดการแสวงหาความรูใหมๆ และขาด

การติดตามสถานการณ/ความรูที่

เกี่ยวของ

แบงการทํางานเปนกลุม และมอบหมายให

นักศึกษาคนควาเพิ่มเติมและรายงานในช้ัน

เรียน เชน ปญหาและสถานการณ

สิ่งแวดลอมที่เกิดข้ึนในระดับประเทศและ

โลก การคนควางานวิจัย/วิทยานิพนธที่

นักศึกษาสนใจ และนําเอาแนวคิดทฤษฎี/

หลักการที่เรียนมาเปรียบเทียบและ

วิเคราะห รวมทั้งประยุกตเทียบเคียงใหเห็น

ตัวอยางในเชิงรูปธรรมที่เห็นชัดเจนข้ึน

4 ประเด็นนักศึกษาขาดการใสใจในการเรียน

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

ไมตรงตอเวลา (มาสาย)

คุยกันในช้ันเรียน

ต้ังคะแนนการเขาช้ันเรียนและเช็คช่ือทุก

ครั้ง โดยอนุญาตใหสายไดไมเกิน 15 นาที

ต้ังกฎ กติการวมกัน กรณีที่มีเสียงโทรศัพท

Page 56: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

54

เลน BB, คุย MSN, Chat ฯลฯ หรือเลน BB จะหักคะแนนทั้งหอง และ

เพื่อนขางๆ ของคนที่เลน BB จะตอง

รับผิดชอบเพื่อนและหักคะแนนครึ่งหน่ึง

กอนเริ่มการสอนจะแสดงคะแนนสะสมการ

เขา Class ทุกครั้ง เพื่อกระตุนใหนักศึกษา

รับทราบผลคะแนนสะสมของตนเอง

รวมทั้งเพื่อนๆ ในหองไดรับทราบรวมกัน

บางคนจะเกิดความละอาย และปรับ

พฤติกรรมเขาช้ันเรียน

5 ประเด็นนักศึกษาขาดประสบการณตรง

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

ไมสามารถอธิบายและวิเคราะหเน้ือหาใน

เชิงความสัมพันธได

ไมสามารถยกตัวอยางที่เปนรูปธรรมได

ไมสามารถประยุกตทฤษฎี/หลักการได

ใชสื่อวีดีทัศน

ทัศนศึกษาดูงาน

แบงกลุมอภิปราย และนําเสนอ

ผศ.ดร.กนก เลิศพานิช

สาขาวิชา พัฒนาการเกษตรและการจัดการทรัพยากร

ประสบการณในการสอน 9 ป

1 ประเด็นนักศึกษาขาดทักษะดานการสื่อสารเบ้ืองตน

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

การใชภาษาในการเขียนและนําเสนอหนา

ช้ันเรียนทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษมี

ความผิดพลาด และใชภาษาในการสื่อสาร

ไมถูกตอง

คอยตรวจสอบและสงคืนเอกสารเพื่อให

นักศึกษาไดทบทวนภาษาอีกครั้ง

เพิ่มเน้ือหาภาษาอังกฤษใหนักศึกษาได

เรียนรูมากข้ึน

Page 57: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

55

2 ประเด็นนักศึกษาขาดความรูพ้ืนฐาน

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

นักศึกษาไมไดใชความรูพื้นฐานในการ

เรียนรูวิชาอื่นๆ ที่เปนวิชาข้ันสูงข้ึน

นักศึกษาไมใสใจนําความรูเดิมมาใชใน

การเรียนรูหรือแกปญหาในการเรียนรู

เน้ือหาวิชาใหม ๆ

อธิบายเน้ือหาพื้นฐานซ้ําใหนักศึกษาอีกครั้ง

ใหนักศึกษาสืบคนเน้ือหาพื้นฐานกอนเรียน

ทดสอบยอยเพื่อใหนักศึกษาเห็นถึง

ความสําคัญวิชาพื้นฐาน

3 ประเด็นนักศึกษาขาดการคนควา

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

นักศึกษาไมคนควาความรูเพิ่มเติมจาก

การเรียนในช้ันเรียน

นักศึกษาไมมีกระบวนการกลั่นกรอง

ขอมูลกอนนํามาใช โดยเฉพาะเน้ือหาที่ได

จาก Internet

สอนวิธีสืบคนขอมูลจากแหลงตาง ๆ

ช้ีใหเห็นถึงความนาเช่ือถือของขอมูลที่

ไดมา

ใหคะแนนเพิ่มจากการอางอิงขอมูล

4 ประเด็นนักศึกษาขาดการใสใจในการเรียน

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

นักศึกษาใช PC เพื่อเลน Facebook

และ Social Network อื่นๆ

นักศึกษาพูดคุยในช้ันเรียน

หักคะแนนความสนใจ ใสใจเรียน

ถามใหตอบเพื่อดึงนักศึกษาเขาสู

เน้ือหาวิชาเรียนอีกครั้ง

5 ประเด็นนักศึกษาขาดประสบการณตรง

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

นักศึกษาไมเขาใจเน้ือหาที่เกี่ยวของกับ

ประสบการณ เชน ไมทราบลักษณะของ

เขตรักษาพันธุสัตวปาวามีลักษณะอยางไร

พานักศึกษาไปทัศนศึกษา

เปดโอกาสใหนักศึกษาไดปฏิบัติจริงในบาง

เรื่องๆ ที่ไมใชงบประมาณมากจนเกินไป

ใชประสบการณเสมือน เชน เปดวีดิทัศนให

ดูหรือดูจากสื่ออื่น ๆ

Page 58: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

56

ผศ.ดร.ณัฐกร สงคราม

สาขาวิชา พัฒนาการเกษตรและการจัดการทรัพยากร

ประสบการณในการสอน 9 ป

1 ประเด็นนักศึกษาขาดทักษะดานการสื่อสารเบ้ืองตน

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

นักศึกษาขาดทักษะการพูดการนําเสนอ

และการเขียนสรุปใจความสําคัญ

นักศึกษาไมเขาใจคําสั่งของอาจารยผูสอน

วาใหทําอะไร อยางไร และนักศึกษาไม

สามารถถายทอดไปยังเพื่อนในหองได

เลาและนําตัวอยางการพูดการนําเสนอหรือ

การเขียนที่ดีจากรุนพี่มาใหนักศึกษาดู

เพิ่มชองทางการประกาศหรือสั่งงานผาน

อินเทอรเน็ต เชน สรางกลุมใน Facebook

เพื่อติดตอสื่อสารและสงงานในแตละวิชา 2 ประเด็นนักศึกษาขาดความรูพ้ืนฐาน

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

นักศึกษาไมสามารถดึงความรูพื้นฐานเดิม

มาใชในการตอยอดวิชาอื่นๆ ได

ทบทวนความรูพื้นฐานเดิมโดยแบง

นักศึกษาออกเปนกลุมแลวจัดกิจกรรมดึง

ความรูเดิม เชน เขียนตอบลงในกระดาษ

หรือนําเสนอหนาช้ันเรียน 3 ประเด็นนักศึกษาขาดการคนควา

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

นักศึกษาใชการสืบคนจากแหลงเดียวและ

บอยครั้งที่นําขอมูลมาจากแหลงที่ไม

นาเช่ือถือ

นักศึกษาใชวิธี Copy & Paste

กําหนดเงื่อนไขวาตองนํามาจากแหลง

สารสนเทศอยางนอย 3 แหลง

แนะนําแหลงสารสนเทศที่นาเช่ือถือ

หากงานที่สงมาเปนการ Copy & Paste

ใหนักศึกษาทําการสรุปและเขียนสงใน

กระดาษ

Page 59: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

57

4 ประเด็นนักศึกษาขาดการใสใจในการเรียน

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

นักศึกษามาสายหรือมาเช็คช่ือแลวหายไป

จากหองเรียน

นักศึกษาคุย เลนอินเทอรเน็ต เลนมือถือ

หลับ

นักศึกษาไมต้ังใจทําผลงานสง

มาใหตรงเวลาสอนทุกครั้งเพื่อเปนตัวอยาง

ใชการเรียกช่ือสลับกับการใหเซ็นช่ือ โดย

หากเลยเวลา 15 นาที Lock หองเรียนแลว

คอยเปดเมื่อเช็คช่ือเสร็จ และบางครั้งก็

Quiz ตอนตนช่ัวโมงโดยไมบอกลวงหนา

พยายามใหนักศึกษามีสวนรวมในการเรียน

การสอน เชน เรียกถามความรูเกา ใคร

ตอบไดใหคะแนนเพิม่

นําผลงานทุกช้ินข้ึนระบบอินเทอรเน็ต

เพื่อใหนักศึกษาตระหนักวามีคนเขามาดู

งานของตนโดยเฉพาะรุนนองเพื่อใหเกิด

ความต่ืนตัวและใสใจในการทํางานมากข้ึน

5 ประเด็นนักศึกษาขาดประสบการณตรง

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

นักศึกษาไมสามารถประยุกตหลักการที่

สอนไปใชในการสรางผลงานที่เหมาะสม

กับวัตถุประสงคและกลุมเปาหมายได

เน่ืองจากยังใชความชอบสวนตัวเปน

แนวทางในการออกแบบและผลิตผลงาน

และดูจากตัวอยางผลงานรุนพี่เปนสวน

ใหญ ทําใหผลงานที่ผลิตออกมานําไปใช

งานจริงไมไดเทาที่ควร

ใหดูผลงานของนักศึกษาในสถาบันอื่นๆ

เพื่อกระตุนใหเกิดความต่ืนตัวในวิชาชีพ

ใหนักศึกษานําผลงานไปใหผูเช่ียวชาญ

ภายนอกสาขาวิชาทั้งจากหนวยงานเอกชน

และสถาบันการศึกษาอื่นตรวจสอบ

คุณภาพของผลงาน

สงเสริมใหทําการผลิตผลงานเพื่อสงเขา

ประกวดในงานตางๆ

Page 60: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

58

รศ.ดร.สุนีรัตน เรืองสมบูรณ

สาขาวิชา เทคโนโลยีการผลิตสัตวและประมง

ประสบการณในการสอน 13 ป

1 ประเด็นนักศึกษาขาดทักษะดานการสื่อสารเบ้ืองตน

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

นักศึกษาไมสามารถอธิบายสิ่งที่ตัวเองรูให

ผูอื่นเขาใจผานการพูดหรือเขียนได

ฝกใหนักศึกษาถายทอดความเขาใจในงาน

ของตนเองหนาช้ันเรียนโดยไมอาน

2 ประเด็นนักศึกษาขาดความรูพ้ืนฐาน

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

นักศึกษาไมนําความรูพื้นฐานจากการ

เรียน ป1 ป2 มาใชตอนป3 ป4 สวนใหญ

จะลืม

ทบทวนใหใหม

ใหไปหาคําตอบมาอธิบายในสัปดาหตอไป

3 ประเด็นนักศึกษาขาดการคนควา

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

ไมอานหนังสือเพิ่มเติม ไมคนควาเพิ่ม รับ

ขอมูลเฉพาะที่ผูสอนใหในหองเรียน

ใหนักศึกษาทํารายงานเรื่อง เอกสาร

หนังสือที่ใช ประกอบการเรียน โดยใหนํา

หนังสือเหลาน้ันมา present หนาช้ัน วา

เปนเรื่องเกี่ยวกับอะไร ใชประกอบการ

เรียนบทไหนไดบาง

4 ประเด็นนักศึกษาขาดการใสใจในการเรียน

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

นักศึกษามักน่ังหลับ น่ังคุย ไมสนใจฟง

การบรรยาย

มีการทดสอบยอยทายช่ัวโมงโดยไมแจงให

ทราบลวงหนา

Page 61: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

59

5 ประเด็นนักศึกษาขาดประสบการณตรง

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

นักศึกษาไมสามารถจินตนาการสิ่งที่

เกิดข้ึนจริงในฟารมเมื่อฟงการบรรยาย

พานักศึกษาออกไปทัศนศึกษา ลองปฏิบัติ

จริงทั้งสถานที่จริงและหองปฏิบัติการ

ผศ.ดร.คมแข พิลาสมบัต ิ

สาขาวิชา เทคโนโลยีการผลิตสัตวและประมง

ประสบการณในการสอน 14 ป

1 ประเด็นนักศึกษาขาดทักษะดานการสื่อสารเบ้ืองตน

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

นักศึกษาไมสามารถเรียบเรียงเคาโครง

ของเน้ือหาใหเปนลําดับข้ันตอน ความคิด

ยังสะเปะสะปะ

นักศึกษาไมมีทักษะในการเขียนงาน

ทางดานวิชาการ การเขียนและการพูดจะ

เปนภาษาวัยรุน และหลายครั้งนักศึกษา

เขียนภาษาไทยผิด ตอนหลังมาเขียนผิด

เยอะมาก

ในวิชาสัมมนา และปญหาพิเศษ อาจารย

จะตองเพียงพอกับจํานวนนักศึกษา เพื่อให

ดูและและสอนการเขียนอยางจริงจัง กรณี

สาขาสัตวศาสตร วิชาสัมมนา อาจารยทุก

คนในสาขาตองเปนอาจารยประจําวิชา

สัมมนา และดูแลนักศึกษาอยางจริงจัง

2 ประเด็นนักศึกษาขาดความรูพ้ืนฐาน

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

นักศึกษาโดยเฉพาะคณะเกษตรสอบตรง

สัมภาษณเขาอยางเดียว บางครั้งมีปญหา

การคัดเลือกเด็กที่มีความรูพื้นฐานไมดี

หาแนวทางคัดเลือกนักศึกษา และเกณฑที่

คัดเลือกเด็กอยางมีประสิทธิภาพ

Page 62: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

60

3 ประเด็นนักศึกษาขาดการคนควา

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

เน่ืองจากเทคโนโลยีกาวหนา นักศึกษา

สวนใหญจะคนขอมูลใน Google เทาน้ัน

ไมอานในหนังสือ และคัดลอกมาจาก

Google อยางเดียว

นักศึกษาไมสนใจศึกษาขอมูลเพิ่มเติมจาก

เน้ือหาที่อาจารยสอน อาจารยสอนแค

ไหนก็แคน้ัน

การทํารายงานให Ref. อางอิงมาดวย

พรอมสงอางอิงมาดูดวย ถาเปนอางอิงที่มา

จาก Google อยางเดียว จะใหกลับไปทํา

เพิ่มเติม แตอาจารยจะตองทํางานมากข้ึน

เพื่อตรวจสอบงานน้ันๆ

กําชับ บังคับ โดยเอาคะแนนมาอางวาตอง

คนควาหนังสือหรือ Journal ที่ตีพิมพแลว

เปนตน 4 ประเด็นนักศึกษาขาดการใสใจในการเรียน

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

นักศึกษาเขาเรียนแตไมจด ไมสนใจ น่ัง

น่ิงๆ บางคนเอาเพลงมาฟง (เสียบหูฟง)

นักศึกษามาเรียนสาย ขาดเรียนบอย

แบงหองเรียนใหเปนหองเล็ก เพื่ออาจารย

จะไดควบคุมนักศึกษาไดงายข้ึน เชน หอง

ละ 30-45 คน หรือไมเกิน 50 คน กรณี

หองละ 100-200 คน ทําใหอาจารยเช็คช่ือ

นักศึกษาไมได ควบคุมลําบาก

ตองเช็คช่ือตามเวลาที่กําหนด เชน จะเช็ค

ช่ือทันทีที่เวลาเรียนเริ่มตน ซึ่งชวงแรกเด็ก

มาเรียนตรงเวลาประมาณ 3 คนจาก 30

คน เมื่อโดนเช็คขาดเด็กจะมาเร็วข้ึนใน

สัปดาหถัดไป แตน่ันหมายความวาอาจารย

ตองมากอนเด็ก 5 ประเด็นนักศึกษาขาดประสบการณตรง

ปญหาท่ีพบ แนวทางแกไขปญหาท่ีเคยใช

นักศึกษาไมมีทักษะในสาขาวิชาที่เรียน

เน่ืองจากนักศึกษาเยอะเกินไป การฝกฝน

ทักษะเฉพาะเรื่องไมทั่วถึง และนักศึกษาก็

ไมสนใจ

ควรใหนักศึกษาเลือกความสนใจเฉพาะ

เรื่องและฝกฝนใน Lab ที่มีอยูใหมากข้ึน

Page 63: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

61

ความรูคูงาน

Knowledge for Worker

ทีมงานไดจัดทําคอลัมนน้ีข้ึนมาเพื่อนําเสนอขอมูลความรูที่นาสนใจและจําเปนตอการ

ปฏิบัติงานของคณาจารยและบุคลากรของคณะฯ โดยฉบับแรกน้ีไดนําประเด็นที่ถูกสอบถามอยูเปน

ประจําของงานบริหารทรัพยากรบุคคลเกี่ยวกับการขออนุมัติลาไปฝกอบรมและดูงาน ณ ตางประเทศ

มาแสดงใหเห็นเปนข้ันตอนที่ชัดเจนและเอกสารที่ตองใชประกอบเพื่อใหงายตอการทําความเขาใจ

และพรอมตอการนําไปปฏิบัติ

การขออนุมัติลาไปฝกอบรมและดูงาน ณ ตางประเทศ

1. ผูลาทําเร่ืองผานประธานสาขาวิชา

* หากมีการใชเงินรายไดคณะ

ใหตัดยอดเงินจากสาขาวิชากอน

2. กรณีใชเงินรายไดคณะ สงใหการเงินเพื่อตัดยอดเงิน

* หากเปนกรณีดูงานใหขามไปขอ 4

3. คณบดีอนุมัติ

ใชเงินรายได ?

yes

no

A

1. เอกสารแนบการลาไปดูงานตางประเทศ

1.1 แบบใบลาไปศึกษา ฝกอบรม ดูงาน

หรือปฏิบัติการวิจัย

1.2 หนังสือเชิญ

1.3 กําหนดการ (หากมี)

2. เอกสารแนบการลาไปนําเสนอผลงานทาง

วิชาการ

2.1 ใบตัดยอดเงินรายไดคณะ

2.2 แบบใบลาไปศึกษา ฝกอบรม ดูงาน

หรือปฏิบัติการวิจัย

2.3 แบบประมาณการเดินทางไป

ตางประเทศ

2.4 บทคัดยอเร่ืองท่ีจะนําเสนอผลงาน

2.5 หนังสือตอบรับหรือหนังสือเชิญไป

นําเสนอผลงานทางวิชาการ

Page 64: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

62

ทานสามารถ download เอกสารที่เกี่ยวของ...ไดที่

http://www.agri.kmitl.ac.th/km/document/f_paper.zip

4. งานบริหารทรัพยากรบุคคลคณะ ดําเนินการขอ

อนุมัต/ิจัดทําคําส่ัง/เสนอคณบดีลงนามในหนังสือนําสง

5. สวนบริหารทรัพยากรบุคคลสถาบัน ตรวจสอบ

เอกสาร (สถาบันออกหนังสือรับรอง)

* กรณีผูลาตองการหนังสือรับรองจากสถาบันเพื่อ

นําไปใชประกอบการจัดทําหนังสือเดินทาง

6. อธิการบดี

อนุมัติ ?

7. งานสารบรรณคณะ

รับเร่ืองคืนและลงทะเบียน

รับเร่ือง

yes

no

8. งานบริหารทรัพยากรบุคคลคณะ

รับเร่ืองเพื่อเตรียมแจงเจาของเร่ือง

9. สาขาวิชารับเร่ืองจากงาน

บริหารงานบุคคลคณะ และแจง

เจาของเร่ืองตอไป

A 3. การทําสัญญาใหขาราชการไปฝกอบรม

ตางประเทศ

3.1 การลาไปฝกอบรม (นําเสนอผลงานทาง

วิชาการ, ประชุมเชิงปฏิบัติการ, สัมมนา

เชิงปฏิบัติการ ณ ตางประเทศ) ไมเกิน

1 เดือน ใหทําเฉพาะสัญญาอนุญาตให

ขาราชการไปฝกอบรมตางประเทศ

3.2 การลาไปดูงานเกิน 15 วัน ใหปฏิบัติ

เชนเดียวกับการฝกอบรม

4. การทําสัญญาใหพนักงานไปฝกอบรมหรืองาน

ตางประเทศ

3.1 พนักงานสถาบันท่ีลาไปฝกอบรม ณ

ตางประเทศ ท่ีมีระยะเวลาไมเกิน 90

วัน ไมตองทําสัญญาผูกมัดกับสถาบัน

3.2 พนักงานสถาบันท่ีลาไปดูงาน ณ

ตางประเทศ ท่ีมีระยะเวลาไมเกิน 60

วัน ไมตองทําสัญญาผูกมัด

Page 65: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

63

เรื่องราวนารู

รอบรั้วบุนนาค

รอบรั้วบุนนาคฉบับแรกน้ี ขอนําเสนอเรื่องราวของ “บานชื่น บานเย็น” หน่ึงในตํานานเล็กๆ

ของหนาประวัติศาสตรคณะเทคโนโลยีการเกษตร ซึ่งคนรุนหลังๆ ควรไดรับรูเอาไว

กําเนิดของสัตวท่ีเปนกระดูกสันหลังของชาติรอบรั้วคณะเทคโนโลยีการเกษตร เจาคุณทหาร

การแกบนของผูที่ไดมาบนบานศาล

กลาวตออนุสาวรียทานเจาคุณทหาร ทําใหหน่ึง

ชีวิตที่ช่ือวา “แมบานช่ืน” ไดถูกนําเขามาอยู

ในพื้นที่รอบๆ ของคณะเทคโนโลยีการเกษตร

สมัยที่ ยังไมมี ตึกเกษตรหลังใหม น่ันก็ คือ

บริเวณตึกบุญนาคหรือตึกเกษตรเกา ตอมาแม

บานช่ืนไดคลอดลูกออกมาเปนเพศเมีย โดยมี

อาจารยทานหน่ึงของหลักสูตรสัตวศาสตรเปน

ผูใหความเมตตาและคอยดูแลดานสุขภาพของ

แม บ าน ช่ืนกั บ ลู ก อ าจ า ร ยท า น น้ั น คื อ

“อาจารยขอม ถึงแกว” (ปจจุบันเกษียณ

ราชการ) ซึ่งทานก็เปนผูต้ังช่ือใหแกลูกของแม

บานช่ืนวา “บานเย็น” ตอมาแมบานช่ืนได

ตายลง จึงเหลือแตบานเย็นเพียงตัวเดียวที่ใช

ชีวิตหากินหญารอบๆ ตึกคณะเกษตรและรอบ

ฟารมเลี้ยงสัตวเกา ยามที่มีอากาศรอนบานเย็น

จะชอบวายนํ้าลอยคออยูภายในบอนํ้าคณะ

เกษตร และใชชีวิตรอบๆรั้วของคณะแบบไม

โรงเรือนอยู ดํารงชีวิตอยางอสิระสมบูรณแบบ

บานเย็นเปนกระบือที่แสนรูและเปน

ขวัญใจของนักศึกษารวมทั้งคนงานคณะ

เทคโนโลยีการเกษตรมาก ทุกครั้งที่บานเย็น

หายไป อาจารยและคนงานฟารมจะตองตาม

หาจนเจอ ซึ่งถาบานเย็นหายไปสวนใหญก็จะ

พบวาไปอยูในบอนํ้าคณะเกษตรเสมอ จนเมื่อ

ประมาณ ปพ.ศ. 2538 ความสุขสวนตัวของ

บานเย็นก็เปนเหตุใหเชือกที่ทําการสนตะพาย

คอไปพันกับพืชนํ้าที่อยูที่บอ จึงทําใหบานเย็น

ไมสามารถข้ึนฝงบอไดและย่ิงพยายามเทาไร

เชือกก็ย่ิงเขาพันที่กีบเทาทําใหบานเย็นจมนํ้า

ลงไปย่ิงกวาเดิม ในที่สุดบานเย็นก็ตองจบชีวิต

ลงภายในบอนํ้าของคณะเทคโนโลยีการเกษตร

ซึ่งก็คือบริเวณใตตึกเจาคุณทหาร อาคารหลัง

ใหมของคณะเทคโนโลยีการเกษตรในปจจุบัน

น่ันเอง

Page 66: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล.

ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

64

รําลกึพระคุณ “ทานเจาคุณทหาร”

เจาพระยาสุรวงษ ไวยวัฒน ทานไดจัด มอบที่ดนิ เพื่อสรางสรรค

ดวยเล็งเห็น คุณคา สถาบัน ชนทุกช้ัน ไดศกึษา วชิาการ

เราชาว สจล. ขอรําลึก จติสํานึก ในพระคุณ เจาคุณทหาร

นอมเกศา บวงสรวง ดวงวญิญาณ ขอทานจง อภิบาลลูกหลานเทอญ

ประพันธโดย...อาจารยจิตกานต ไพรศร ี

Page 67: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554
Page 68: อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

www.agri.kmitl.ac.th/km

คณะกรรมการจัดการองค์ความรู้ คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง